Page 26 - หนังสือเรียนสาระความรู้พื้นฐาน
P. 26

19



                                (2)  ฮอรโมนมิเนราโลคอรติคอนด (mineralocorticiod) ทําหนาที่ควบคุมสมดุลของน้ําและ

                  เกลือแรในรางกาย ฮอรโมนที่สําคัญ คือ อัลโคสเตอโรน ซึ่งควบคุมการทํางานของไตในการดูดน้ําและ
                  โซเดียมเขาสูเสนเลือด ทั้งยังควบคุมสมดุลของความเขมขนของฟอสเฟตในรางกายดวย

                                (3)  ฮอรโมนเพศ (adrenalsex hormone) สรางฮอรโมนหลายชนิด เชน แอนโดรเจน เอสโตรเจน

                  แตมีปริมาณเล็กนอย เมื่อเทียบกับฮอรโมนเพศจากอัณฑะและไข
                             2)  อะดรีนัลเมดัลลา ฮอรโมนจากอะดรีนัลเมดัลลา ประกอบดวยฮอรโมนสําคัญ 2 ชนิด คือ

                  อะดรีนัลนาลีน หรือเอปเนฟริน และนอรอะดรีนาลิน หรือนอรเอปเนฟริน ปกติฮอรโมนจากอะดรีนัลเมดัล

                  ลาจะเปนอะดรีนาลินประมาณรอยละ 70 และนอรอะดรีนาลินเพียงรอยละ 10 ในผูใหญจะพบฮอรโมนทั้ง

                  สองชนิด แตในเด็กจะมีเฉพาะนอรอะดรีนาลินเทานั้น
                                (1)  อะดรีนาลินฮอรโมน (adrenalin hormone) หรือฮอรโมนเอปเนฟริน (epinephrine)

                  ฮอรโมนอะดรีนาลินเปนฮอรโมนที่หลั่งออกมาแลวมีผลใหน้ําตาลในเลือดเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ยังกระตุน

                  ใหหัวใจเตนเร็ว ความดันเลือดสูง ทําใหเสนเลือดอารเตอรีขนาดเล็กที่อวัยวะตางๆ ขยายตัว สวนเสนเลือด
                  อารเตอรีขนาดเล็กที่บริเวณผิวหนังและชองทองหดตัว

                                (2)  นอรอะดรีนาลินฮอรโมน (noradrenalin hormone) หรือฮอรโมนนอรเอปเนฟริน

                  (noepinephrine) ฮอรโมนนอรอะดรีนาลินจะแสดงผลตอรางกายคลายกับผลของอะดรีนาลินฮอรโมน แต

                  อะดรีนาลินฮอรโมนมีผลดีกวา โดยฮอรโมนชนิดนี้จะหลั่งออกมาจากปลายเสนประสาทซิมพาเทติกไดอีก
                  ดวยฮอรโมนนี้จะทําใหความดันเลือดสูงขึ้น ทําใหหลอดเลือดอารเตอรีที่ไปเลี้ยงอวัยวะภายในตางๆ บีบตัว

                         2.5 ตับออน ภายในเนื้อเยื่อตับออนจะมีไอสเลตออฟแลงเกอรฮานสเปนตอมเล็กๆ ประมาณ

                  2,500,000 ตอมหรือมีจํานวนประมาณรอยละ 1 ของเนื้อเยื่อตับออนทั้งหมด  ฮอรโมนผลิตจากไอสเลตออฟ
                  แลงเกอรฮานสที่สําคัญ 2 ชนิดคือ

                             1)  อินซูลิน (insulin) สรางมาจากเบตตาเซลลที่บริเวณสวนกลางของไอสเลตออฟแลงเกอร

                  ฮานส หนาที่สําคัญของฮอรโมนนี้คือ รักษาระดับน้ําตาลในเลือดใหเปนปกติ เมื่อรางกายมีน้ําตาลในเลือดสูง

                  อินซูลินจะหลั่งออกมามากเพื่อกระตุนเซลลตับ และเซลลกลามเนื้อนํากลูโคสเขาไปในเซลลมากขึ้น และ
                  เปลี่ยนกลูโคสใหเปนไกลโคเจน เพื่อเก็บสะสมไว นอกจากนี้อินซูลินยังกระตุนใหเซลลทั่วรางกายมีการใช

                  กลูโคสมากขึ้น ทําใหระดับน้ําตาลในเลือดลดลงสูระดับปกติ ถากลุมเซลลที่สรางอินซูลินถูกทําลายระดับ

                  น้ําตาลในเลือดจะสูงกวาปกติทําใหเปนโรคเบาหวาน
                             2)  กลูคากอน (glucagon) เปนฮอรโมนที่สรางจากแอลฟาเซลล ซึ่งเปนเซลลอีกประเภทหนึ่ง

                  ของไอสเลตออฟแลเกอรฮานส กลูคากอนจะไปกระตุนการสลายตัวของไกลโคเจนจากตับและกลามเนื้อให

                  น้ําตาลกลูโคสปลอยออกมาในเลือดทําใหเลือดมีกลูโคสเพิ่มขึ้น

                         2.6 รังไข  (ovaries)  ตอมอวัยวะสืบพันธุของเพศหญิงซึ่งอยูที่รังไขจะสรางฮอรโมนที่สําคัญคือ
                  เอสโตรเจน (estrogens) และโปรเจสเตอโรน (progesterrone)
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31