Page 27 - หนังสือเรียนสาระความรู้พื้นฐาน
P. 27

20



                             ฮอรโมนเอสโตรเจน มีหนาที่สําคัญในการควบคุมลักษณะของเพศหญิง คือลักษณะการมีเสียง

                  แหลม สะโพกผาย การขยายใหญของอวัยวะเพศและเตานม การมีขนขึ้นตามอวัยวะเพศ และรักแร
                  นอกจากนี้ยังมีสวนในการควบคุมการเปลี่ยนแปลงที่รังไขและเยื่อบุมดลูกอีกดวย

                             ฮอรโมนโปรเจสเตอโรน เปนฮอรโมนที่สรางจากสวนของอวัยวะเพศ คือ คอรปส ลูเตียม และ

                  บางสวนสรางมาจากรกเมื่อมีครรภ นอกจากนี้ยังสรางมาจากอะดรีนัล คอรเทกซ ไดอีกดวย ฮอรโมนชนิดนี้
                  เปนฮอรโมนที่สําคัญที่สุดในการเตรียมการตั้งครรภ และตลอดระยะเวลาของการตั้งครรภ มีบทบาท

                  โดยเฉพาะตอเยื่อบุมดลูก ทําใหมีการเปลี่ยนแปลงที่รังไขและมดลูกการทํางานของฮอรโมนเพศนี้ยังอยู

                  ภายใตการควบคุมของฮอรโมน ฟอลลิเคิล สติมิวเลดิง ฮอรโมน (follicle stmulating hormone เรียก ยอ ๆ  วา

                  FSH ) และ ลูนิไนซิง ฮอรโมน ( luteinging hormone เรียกยอ ๆ วา  LH ) จากตอมใตสมองสวนหนาอีกดวย
                         2.7 อัณฑะ (testis) ตอมอวัยวะสืบพันธุของเพศชายซึ่งอยูที่อัณฑะจะสรางฮอรโมนที่สําคัญที่สุดคือ

                  เทสโตสเตอโรน (testosterone) ซึ่งจะสรางขึ้นเมื่อเริ่มวัยหนุม โดยกลุมเซลลอินเตอรสติเซียล สติมิวเลติง

                  ฮอรโมน (  interstitial  cell stimulating hormone  เรียกยอ ๆ วา ICSH)จะไดรับการกระตุนจากฮอรโมนจาก

                  ตอมใตสมองสวนหนา คือ LH  หรือ  ICSH นอกจากสรางเทสโทสเตอโรนแลวยังพบวาเซลลสติเซียลยัง
                  สามารถสรางฮอรโมนเพศหญิง คือเอสโตรเจน (estrogen) ไดอีกดวย

                             ฮอรโมนนี้ทําหนาที่ควบคุมลักษณะที่สองของเพศชาย (secondary sex characteristic) ซึ่งมีลักษณะ

                  สําคัญ คือเสียงแตก นมขึ้นพาน ลูกกระเดือกแหลม มีหนวดขึ้นบริเวณริมฝปาก มีขนขึ้นบริเวณหนาแขง รักแร
                  และอวัยวะเพศ กระดูกหัวไหลกวาง และกลามเนื้อตามแขน ขา เติบโตแข็งแรงมากกวาเพศตรงขาม

                             ความผิดปกติเกี่ยวกับฮอรโมน ที่พบมีดังนี้

                             (1) ถาตัดอัณฑะออก นอกจากจะเปนหมันแลว ยังมีผลใหลักษณะตางๆ ที่เกี่ยวกับเพศไมเจริญ
                  เหมือนปกติ

                             (2) ถาระดับฮอรโมนสูงหรือสรางฮอรโมนกอนถึงวัยหนุมมาก เนื่องจากมีเนื้องอกที่อัณฑะจะ

                  ทําใหเกิดการเติบโตทางเพศกอนเวลาอันสมควร (percocious puberty) ไมวาจะเปนลักษณะทางเพศและ
                  อวัยวะสืบพันธุ
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32