Page 5 - บทที่1
P. 5

จากรูปที่ 1-1 เปนการหาตําแหนงของรอยโรคจากความผิดปกติที่ไดจากประวัติที่จะใชเปนขอมูล

               จากนั้นในตารางที่ 1-1 จะใชลักษณะอาการและอาการแสดงที่จําเพาะในการแยกตําแหนงของรอยโรค

               ระหวางระบบประสาทสวนกลางและสวนปลายที่ไดจากการตรวจรางกายมาพิจารณารวมดวย


                                ตารางที่ 1-1 แสดงความแตกตางของอาการและอาการแสดงในระบบประสาท


                               ตําแหนงรอยโรค


                                                   ระบบประสาทสวนกลาง             ระบบประสาทสวนปลาย


                 อาการ


                 /อาการแสดง



                 ลักษณะออนแรง                             แข็งเกร็ง                   ออนปวกเปยก

                 (Weakness)                                (spastic)                      (flaccid)



                 ความตึงตัวของกลามเนื้อ (Tone)            เพิ่มขึ้น                       ลดลง


                 การฝอของกลามเนื้อ                 มักไมพบในระยะแรก               มักพบในระยะแรก

                 (Atrophy)


                 การตอบสนองของรีเฟล็กซ (Reflex)           เพิ่มขึ้น                       ลดลง


                 การสั่นพลิ้วของกลามเนื้อ                  ไมพบ                           พบ

                 (Fasciculation)


                 การตอบสนองเมื่อทําการกระตุนที่           Positive                       Negative

                 ฝาเทา (Babinski’s sign*)

                 *Babinski’s sign เปนการตรวจรางกายโดยใชวัตถุปลายทูขูดกระตุนบริเวณฝาเทาจากนั้นสังเกตการตอบสนองของ

               นิ้วเทา หากพบวามีการกระดกขึ้นของนิ้วหัวแมเทา (dorsiflexion) รวมกับการกางออกของนิ้วเทาที่เหลือแสดงวาการตรวจ
               นั้นใหผลบวก (positive) ซึ่งเปนการแสดงถึงความผิดปกติของพยาธิสภาพที่บริเวณ corticospinal tract






                                                                                  สราวุธ สุขสุผิว_ภาคการศึกษาที่ 3/2560
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10