Page 46 - ประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ
P. 46

“การศึกษาเพิ่มเติมจะละเวนเสียมิได  เพราะกฎหมายยอมออกใหมเสมอ และมี

               คดีพิพาทอยูทุกวัน  ตองพยายามขวนขวายศึกษา  และพิจารณาหาเหตุผลเปนเครื่องเจริญความรู
               เมื่อถึงคราวที่จะใช  จะไดหยิบยกขึ้นใชไดทันใจ  อยาคิดเสียวาเทาที่รูไปแลวจะพอ นอกจากกฎหมาย
               สารบัญญัติทั้งปวงใหสนใจศึกษากฎหมายแผนกกระบวนพิจารณาใหช่ําชองเปนพิเศษ  เพราะกฎหมาย

               แผนกนี้เปนเครื่องมืออันตองใชประจําอยูเปนนิตย  ผูพิพากษาที่ไมรูวิธีพิจารณาความแตกฉานนั้น
               เปรียบประดุจคนตาฟางตามืดดังที่กลาวไวในคัมภีรพระธรรมศาสตร  ยอมยากที่จะพิจารณาพิพากษา

               คดีใหถูกตองและยุติธรรมได”

               บทบัญญัติ


                              ขอ  ๓๗  ผูพิพากษาจักตองไมกาวกายแทรกแซงหรือแสวงหาประโยชนโดยมิชอบ

               จากการปฏิบัติหนาที่ของผูพิพากษาอื่นหรือกระทําการใด ๆ  อันเปนการกระทบกระเทือนตอการ
               ปฏิบัติหนาที่ของผูพิพากษาอื่นในการพิจารณาพิพากษาคดี


               คําอธิบาย
                              (๑)  จักตองไมกาวกาย  :

                              การที่ผูพิพากษาซึ่งเปนผูบังคับบัญชาแนะนําหรือตักเตือนผูพิพากษาผูอยูใตบังคับ
               บัญชา  ซึ่งปฏิบัติงานดานพิจารณาพิพากษาอรรถคดีผิดพลาดหรือในทางที่ไมสมควร มิใชเปนเรื่อง
               กาวกายหรือกาวลวงเขาไปเปลี่ยนแปลงดุลพินิจของผูพิพากษาผูอยูใตบังคับบัญชาซึ่งเปน

               เจาของสํานวนคดีเรื่องนั้น
                              การกาวกายนี้อาจจะมีไดหลายทางดวยกัน  เชน  การที่ผูพิพากษาซึ่งเปนผูบังคับบัญชา

               โดยตรง  หรือผูพิพากษาอาวุโสขอใหผูอยูใตบังคับบัญชาหรือผูนอยตัดสินคดี ตามที่ตนประสงค
               ไมวาจะรองขอโดยตรงหรือโดยปริยาย
                              (๒)  เพื่อเปนการปองกันมิใหผูพิพากษาซึ่งมีคดีความในศาลเขาไปกาวกายในคดีนั้น

               สํานักงานศาลยุติธรรมจึงไดมีหนังสือที่ ศย ๐๐๓/ว ๑๙๔ ลงวันที่  ๒๒  พฤษภาคม  ๒๕๕๐
               ถึงหัวหนาหนวยงานในสังกัดสํานักงานศาลยุติธรรม  มีใจความสําคัญวา  เมื่อขาราชการตุลาการ

               เปนโจทก  หรือผูเสียหายหรือจําเลยในคดีอาญา  คดีแพง  หรือคดีปกครอง  ใหขาราชการตุลาการนั้น
               รายงานไปใหสํานักงานศาลยุติธรรมทราบอยางชาภายในกําหนด  ๑๕  วัน  นับแตวันฟองหรือทราบวา
               ถูกฟอง  และถาเปนความในศาลเดียวกับที่ขาราชการตุลาการนั้นรับราชการอยู  ก็ใหผูมีหนาที่รับผิดชอบ

               ในงานของศาลยุติธรรมนั้นรายงานไปใหสํานักงานศาลยุติธรรมทราบ  และหากศาลนั้นอยูในเขตอํานาจ
               ของอธิบดีผูพิพากษาภาคใด ก็ใหรายงานใหอธิบดีผูพิพากษาภาคนั้นทราบอีกทางหนึ่งดวย

               ภายในกําหนด  ๑๕  วัน  โดยใหผูมีหนาที่รับผิดชอบในงานของศาลยุติธรรมพิจารณาสอดสอง
               ใหกระบวนพิจารณาเปนไปโดยเที่ยงธรรมเปนพิเศษ  หามมิใหขาราชการตุลาการที่เปนโจทก
               ผูเสียหาย หรือจําเลยและองคคณะของผูพิพากษานั้น เขาไปเกี่ยวของกับคดีหรือกระทําการใด

               อันอาจทําใหเสียเกียรติศักดิ์แหงตําแหนงหนาที่ราชการ  และเมื่อเสร็จสิ้นในชั้นศาลใดใหขาราชการ
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51