Page 7 - 01-พระครูสันติ.indd
P. 7

Journal of MCU Peace Studies Special Issue  253




                   บทนำ


                           สังคมในยุคปจจุบันภายใตเทคโนโลยีโลกไรพรหมแดน ทำใหสภาพชีวิตความเปนอยูของคนทำงาน

                   ในองคกรตางก็เรงรีบและไขวควาความสำเร็จ เนื่องจากองคกรทั้งหลายตางก็พุงเปาไปที่ผลประโยชนและ
                   ความสำเร็จที่เปนทรัพยสินเงินทอง แมวาการทำงานจะมีความสำคัญตอชีวิตมนุษยเปนอยางมากในฐานะ

                   เปนกิจกรรมหลักที่มนุษยตองปฏิบัติเพื่อการเลี้ยงชีพ และเปนเครื่องมือในการเปดโอกาสใหมนุษยแสดงถึง
                   ความสามารถและเชาวปญญา ความคิดริเริ่มสรางสรรคนำมาซึ่งเกียรติภูมิและความพึงพอใจในชีวิตและยัง

                   สรางความมั่นคงใหกับตนเองและครอบครัวรวมไปถึงการมีคุณภาพ ชีวิตและฐานะทางสังคมที่ดี (Pachon
                   Chalermsara, 2558) ทั้งนี้ หากมองยอนไปในอดีตที่ผานมาจะพบวาองคกร ตางก็พัฒนาโดยยึดเอาวัตถุเปน

                   ศูนยกลาง ผลที่เกิดขึ้นก็คือ มนุษยสรางวัตถุตางๆ อยางกวางขวาง เปนสังคมวัตถุนิยมที่ทำใหมนุษยไมมี
                   ความสุข (Porn-apha Thawornthawat, 2557) เฉกเชนเดียวกัน ความสำเร็จของงานที่จะสงผลไดอยางยั่ง

                   ยืนนั้น พึงทำใหเปาหมายขององคกรและความสุขของพนักงานเปนไปเพื่อการเกื้อหนุนซึ่งกันและกันจึง
                   สามารถกลาวไดวา องคกรนั้นเปนองคกรสันติสุข เปนการอยูรวมกันอยางสงบไมขัดแยงหรือขัดแยงนอยที่สุด

                   มีความสามัคคี ทุกคนเสียสละทำหนาที่เต็มความสามารถของตนเอง เพื่อประโยชนสุขแกตนเองและผูอื่น
                   อยางดีที่สุด (PhramahaDanai Upawattano Srichan, 2557) แตก็พบวา การบริหารงานองคกรใน

                   ปจจุบันตองเผชิญกับปญหาที่ยุงยากสลับซับซอนและโดยทั่วไปก็เปนที่ยอมรับกันวาทรัพยากรทางดานกำลัง
                   คนและความเจริญกาวหนาทางวิทยาการตางๆ ก็มีความสำคัญ การบริหารองคกรจึงเปนกระบวนการทาง

                   สังคม คือ อาศัยกลุมคนที่รวมกันทำงานเพื่อบรรลุเปาหมายขององคกร ซึ่งผูบริหารจะตองรับผิดชอบให
                   สำเร็จโดยอาศัยความรวมมือของบุคลากร มิฉะนั้นจะทำงานไมสำเร็จ

                           สังคหวัตถุ 4 เปนหลักการของการครองใจคน หลักยึดเหนี่ยวใจกันไว (1) ทาน (การให)

                   (2) ปยวาจา (วาจาเปนที่รัก) (3) อัตถจริยา (การประพฤติประโยชน) (4) สมานัตตตา (การวางตนสม่ำเสมอ)
                   (Tipitika, 2539) จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ เชน Suwit Krakhayan (2557) พบวา บริษัทและ

                   พนักงานที่มีสรางความสัมพันธที่ดีตอกันตามหลักคำสอนในพระพุทธศาสนา คือ กระทำดีตอกัน พูดดีตอกัน
                   จริงใจตอกัน แบงปนผลประโยชนที่ดีตอกัน ยึดนโยบายหรือหลักการที่ดีตอกัน และคิดเห็นที่ดีตอกัน ทำให

                   พนักงานในองคกรทุกฝายเกิดความสามัคคีปรองดองและรักใครหวงใยกัน

                           บริษัท ทาเคโกะ เอ็นจิเนียริ่ง (ประเทศไทย) จำกัด เปนธุรกิจขนาดเล็กแตก็ประสบความสำเร็จ
                   และมีการเติบโตอยางตอเนื่อง ทั้งนี้เพราะมีผูบริหารที่ใช ใหความรักและเอาใจใสตอพนักงาน มีความ

                   ปรารถนาดีในทุกๆ เรื่องของพนักงาน ดูแลเปรียบเสมือนสวนหนึ่งในครอบครัว ไมทอดทิ้งในยามที่เขามีทุกข
                   และไดพาเขาไปรวมปฏิบัติธรรม รวมทั้งใหความรูทั้งดานการทำงาน และดานอื่นๆ เปนประโยชนตอพนัก

                   งานในองคกร ใหไดมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นในเรื่องงาน ซึ่งการดูแลแบบนี้ทำใหพนักงานรักใน
                   องคกร มีความซื่อสัตยตอองคกร มีความเอาใจใสในหนาที่งานสวนงานที่รับผิดชอบ ซึ่งสงผลทำใหการทำงาน
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12