Page 8 - 01-พระครูสันติ.indd
P. 8

254 วารสารสันติศึกษาปริทรรศน มจร ปที่ 5 ฉบับพิเศษ




                 มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น ยอดขายเพิ่มขึ้น มีความผิดพลาดในการทำงานลดลง พนักงานลาออกนอยลง ลด
                 การขัดแยงการไมเขาใจกัน มีความเอื้อเฟอเกื้อกูลตอกัน

                         ดังนั้น ผูวิจัยจึงสนใจศึกษาถอดบทเรียนองคกรสันติสุขของ บริษัท ทาเคโกะ เอ็นจิเนียริ่ง (ประเทศ

                 ไทย) จำกัด โดยนำหลักสังคหวัตถุ 4 ซึ่งเปนพุทธสันติวิธีมาเปนกรอบในการวิเคราะหถอดบทเรียนการอยู
                 รวมกันในองคกรสันติสุขตามหลักสังคหวัตถุ 4 ซึ่งเปนพุทธสันติ ดวยหวังประโยชนวางานวิจัยนี้จะสามารถ

                 สะทอนใหองคกร บริษัท ทั้งผูประกอบธุรกิจขนาดเล็กหรือขนาดใหญ ใหหันมามองและใหความสำคัญ
                 การนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาใชเปนเครื่องมือเพื่อใหคนในองคกรใหมีสันติภายในพัฒนาคนใน

                 องคกรใหเกิดความสุข ซึ่งจะทำใหองคกรนั้นประสบความสำเร็จไดอยางยั่งยืน สามารถรสรางสรรประโยชน
                 ใหกับสังคมสืบตอไป



                 วัตถุประสงคการวิจัย


                         1. เพื่อศึกษาแนวคิดองคกรสันติสุขตามหลักพุทธสันติวิธี

                         2. เพื่อศึกษาสภาพบริบทการทำงาน และความสัมพันธในองคกรของ บริษัท ทาเคโกะ เอ็นจิ
                 เนียริ่ง (ประเทศไทย) จำกัด

                         3. เพื่อศึกษาวิเคราะหองคกรสันติสุขตามหลักพุทธสันติวิธีของ บริษัท ทาเคโกะ เอ็นจิเนียริ่ง
                 (ประเทศไทย) จำกัด


                 วิธีการดำเนินการวิจัย



                         งานวิจัยเชิงคุณภาพภาคสนามภาคสนาม (Qualitative Field Research) โดยผูวิจัยจะทำการ
                 รวบรวมขอมูลที่เกี่ยวกับแนวทางการทำงานของ บริษัท ทาเคโกะ เอ็นจิเนียริ่ง (ประเทศไทย) จำกัด ตาม

                 กรอบแนวคิดตามแนวพุทธสันติวิธี จากคัมภีรพระไตรปฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เอกสาร
                 หนังสือ วารสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของ และสัมภาษณเชิงลึก (In-Depth Interview) กับผูใหขอมูลสำคัญ

                 (Key Informants) โดยผูวิจัยคัดเลือกกลุมเปาหมายเพื่อทำการสัมภาษณเชิงลึก ดวยการคัดเลือกแบบ
                 เจาะจง (Purposive Sampling) แบงเปน 2 กลุม คือ 1) กลุมผูบริหาร และเจาหนาที่ในบริษัท ทาเคโกะ

                 เอ็นจิเนียริ่ง (ประเทศไทย) จำกัด จำนวน 8 ทาน และ 2) กลุมนักวิชาการทางพระพุทธศาสนาที่มีความ
                 เชี่ยวชาญในเรื่องขององคกร จำนวน 1 ทาน รวมผูใหขอมูลสำคัญจำนวน 9 คน และทำการรวบรวมขอมูล

                 พรอมทั้งวิเคราะหตีความดวยหลัก Content Analysis จำกัด รวม โดยผูวิจัยคัดเลือกกลุมเปาหมายเพื่อ
                 ทำการสัมภาษณเชิงลึก ดวยการคัดเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เปนผูใหขอมูลสำคัญ
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13