Page 72 - เนื้อหา
P. 72

1.2 วันที่บันทึกดอกเบี้ยจ่าย บริษัทจะต้องจ่ายดอกเบี้ยหุ้นกู้ตามวันที่ และระยะเวลาที่ก าหนด
                       ไว้ในใบหุ้นกู้ ซึ่งอาจจะก าหนดให้จ่ายปีละครั้งในวันสิ้นงวดบัญชีหรือจ่าย 6 เดือน/ครั้ง แล้วแต่ที่จะ
                       ก าหนดไว้ในใบหุ้นกู้ ดังนั้นการบันทึกบัญชีจะเป็นดังนี้


                                   จ่ายดอกเบี้ยปีละครั้งในวันสิ้นงวด
                              25XX
                              ธ.ค. 31    เดบิต ดอกเบี้ยจ่าย                                       XXX
                                                       เครดิต เงินสด                                              XXX

                                            จ่ายดอกเบี้ยหุ้นกู้

                                   จ่ายดอกเบี้ยปีละ 2 ครั้ง
                              25XX

                              มิ.ย. 30    เดบิต ดอกเบี้ยจ่าย                                       XXX
                                                       เครดิต เงินสด                                              XXX
                                           จ่ายดอกเบี้ยประจ างวดที่ 1 ของปี


                              ธ.ค. 31    เดบิต ดอกเบี้ยจ่าย                                        XXX
                                                       เครดิต เงินสด                                              XXX
                              จ่ายดอกเบี้ยประจ างวดที่ 2 ของปี


                               1.3 วันที่ตัดส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้หรือส่วนต่ ามูลค่าหุ้นกู้ เป็นวันที่จะต้องปรับดอกเบี้ยจ่ายหุ้นกู้ให้
                       มีอัตราเท่ากับตลาดและโอนเข้าบัญชีก าไรขาดทุน ในการปรับดอกเบี้ยจ่ายกับส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้หรือ
                       ส่วนต่ ามูลค่าหุ้นกู้นั้นซึ่งสามารถที่จะค านวณได้ 2 วิธี คือ วิธีเส้นตรง กับวิธีดอกเบี้ยทบต้น แต่ในที่นี้

                       จะน าวิธีเส้นตรงมาอธิบาย ในเรื่องการปรับส่วนเดินมูลค่าหุ้นกู้หรือส่วนต่ ามูลค่าหุ้นกู้กับดอกเบี้ยจ่าย
                                ในการปรับดอกเบี้ยกับส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้หรือส่วนต่ ามูลค่าหุ้นกู้ในวิธีเส้นตรง เป็นวิธีที่เฉลี่ย
                       ดัดส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้หรือส่วนต่ ามูลค่าหุ้นกู้ในแต่ละงวดบัญชีหรืองวดดอกเบี้ย โดยจะมีจ านวน
                       เท่ากันตลอดอายุของหุ้นกู้ ซึ่งสามารถค านวณได้โดยส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้หรือส่วนต่ ามูลค่าหุ้นกู้ทั้งหมด

                       หารด้วยอายุของหุ้นกู้ ผลออกมาจะได้ส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้หรือส่วนต่ ามูลค่าหุ้นกู้ต่อปีของหุ้นกู้ เช่น มี
                       ส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้ทั้งหมด 60,000 บาท หุ้นกู้อายุ 5 ปี ดังนั้นส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้จะต้องน าไปปรับกับ
                       ดอกเบี้ยให้เท่ากับดอกเบี้ยในตลาดปีละ 10,000 บาท (50,000 - 5) ซึ่งสามารถแสดงในรูปแบบของ
                       ตารางการตัดส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้หรือส่วนต่ ามูลค่าหุ้นกู้ จะศึกษาได้ตามตัวอย่างที่ 1 ซึ่งการบันทึก

                       บัญชีนั้นสามารถบันทึกได้ 2 วิธี คือ









                                                            ~ 68 ~
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77