Page 45 - 06_การปองกนและปราบปรามการทจรต_Neat
P. 45

๓๘




                               ประการที่สอง มีหนาที่และความรับผิดชอบตามตําแหนงราชการหรือสาธารณะ
              ซึ่งตองมีความเปนกลาง โดยยึดผลประโยชนสาธารณะเหนือประโยชนสวนตน

                               ประการที่สาม มีการแทรกแซงการใชดุลพินิจอยางเปนกลาง คือ สภาพความขัดแยง
              เขามามีบทบาทหรือแทรกแซงการใชดุลพินิจที่เปนกลางของผูดํารงตําแหนง จนทําใหการตัดสินใจ
              เบี่ยงเบนไปจากมาตรฐานที่ควรจะเปนในการปฏิบัติงาน

                               เมื่อพิจารณาองคประกอบสามประการขางตน จะเห็นไดวา ความขัดแยงระหวาง
              ผลประโยชนสวนตนและสวนรวมเขาขายเปนการทุจริตอีกลักษณะหนึ่ง เนื่องจากมีการใชอํานาจ

              หรือตําแหนงหนาที่ในการแสวงหาประโยชนสวนตน ซึ่งความขัดแยงของผลประโยชนนี้เปนรูปแบบ
              การทุจริตที่มีความสําคัญและกอใหเกิดผลเสียหายตอการดําเนินงานขององคกรภาครัฐที่มุงเนน
              การดําเนินการในเชิงธุรกิจไดมาก เนื่องจากประโยชนที่ไดรับจากการกระทําที่มีการขัดกันของผลประโยชน

              อาจไมใชประโยชนโดยตรง แตเปนประโยชนแอบแฝงและคลุมเครือ ทําใหยากตอการตรวจสอบหรือ
              พิจารณาวาการกระทําในลักษณะนั้นเปนการแสวงหาประโยชนโดยไมชอบ หรือเปนความผิดที่สมควร

              ถูกลงโทษหรือไม และกวาจะพิจารณาไดชัดเจน ผูกระทําการอันมีลักษณะขัดกันของผลประโยชน
              อาจไดรับประโยชนไปแลวมากมายมหาศาล ในขณะที่ผลเสียหายรายแรงตกอยูแกองคกรไปเสียแลว
                               แตเดิมความเขาใจของคนทั่วไปเห็นวา การขัดกันของผลประโยชนเปนเรื่องของ

              จริยธรรมและไมเปนที่สนใจนัก แตในปจจุบันเปนเรื่องที่อยูในกระแสสังคมอยางมากเพราะการรับรู
              ขาวสารที่กวางขวางและละเอียดลึกซึ้งทําใหเห็นถึงขอเท็จจริงที่เปนปญหาเกิดขึ้นเปนจํานวนมาก จนมี

              การกําหนดกรณีการขัดกันของผลประโยชนในบางกรณีไวในกฎหมายเพื่อใหมีผลบังคับใชกับเจาหนาที่
              ของรัฐ ในลักษณะเปนมาตรการปองกันการทุจริตและเปนบทกําหนดความผิดที่ชัดเจนและแนนอนยิ่งขึ้น
              ซึ่งสามารถจําแนกวิธีการทุจริตที่มีลักษณะเปนการขัดกันของผลประโยชนในองคกรภาครัฐที่มุงเนน

              การดําเนินการในเชิงธุรกิจตามที่มีกฎหมายกําหนดไวไดดังนี้

                               (๑)  การเปนคูสัญญา หุนสวน หรือมีสวนไดเสียในสัญญาหรือในกิจการที่ทํา
              กับองคกรภาครัฐที่มุงเนนการดําเนินการในเชิงธุรกิจซึ่งตนปฏิบัติหนาที่อยู
                               (๒)  การเปนผูรับสัมปทานหรือคูสัญญาที่มีลักษณะผูกขาดกับหนวยงานของรัฐ

              ที่ตนปฏิบัติหนาที่อยูไมวาโดยทางตรงหรือทางออม
                               (๓)  การเปนกรรมการ ที่ปรึกษา ตัวแทน พนักงานหรือลูกจางในธุรกิจของเอกชน

              ซึ่งอยูภายใตการกํากับ ดูแล ควบคุม หรือตรวจสอบของรัฐหรือซึ่งแขงขันกับองคกรภาครัฐ ที่มุงเนน
              การดําเนินการในเชิงธุรกิจซึ่งตนอยูในสังกัดหรือปฏิบัติหนาที่อยู

                               (๔)  การดํารงตําแหนงทับซอนในหลายองคกรหรือสถาบันซึ่งมีความเกี่ยวของกับ
              องคกรภาครัฐที่มุงเนนการดําเนินการในเชิงธุรกิจ อันอาจกอใหเกิดการตัดสินใจที่โนมเอียงไปจาก

              ประโยชนสาธารณะอันเนื่องมาจากบทบาทอีกสถานะหนึ่งที่ขัดแยงกัน เชน การเปนกรรมการรัฐวิสาหกิจ
              มากกวาหนึ่งแหง การเปนกรรมการหรือเจาหนาที่ในพรรคการเมือง ซึ่งเปนชองทางใหฝายการเมือง

              แทรกแซงการดําเนินงานขององคกรภาครัฐได
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50