Page 47 - 06_การปองกนและปราบปรามการทจรต_Neat
P. 47
๔๐
การขัดกันของผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวม หรือการขัดกันระหวาง
ผลประโยชนสวนบุคคลกับผลประโยชนสาธารณะ หรือการขัดแยงผลประโยชนหรือผลประโยชนทับซอน
หรือการทุจริตเชิงนโยบาย (Conflict of Interests : COI) มีความหมายเดียวกัน คือ การที่เจาหนาที่
ของรัฐปฏิบัติหนาที่โดยคํานึงถึงประโยชนสวนตนหรือพวกพองเปนหลัก โดยไมคํานึงถึงประโยชน
สวนรวม (ประโยชนสาธารณะ) ซึ่งถือเปนความผิดเชิงจริยธรรมและเปนความผิดขั้นแรกที่จะนําไปสู
การทุจริต สรางความเสียหายใหเกิดขึ้นกับประเทศชาติ
เพื่อเปนการเสริมสรางคุณธรรมและความโปรงใสในการดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐ
รัฐบาลจึงกําหนดยุทธศาสตรชาติวาดวยการปองกันและปราบปรามทุจริต ระยะที่ ๓ (พ.ศ.๒๕๖๐ -
๒๕๖๔) กําหนดใหการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสเปนกลยุทธสําคัญในการปองกันการทุจริต
เชิงรุก เพื่อใหหนวยงานภาครัฐมีการดําเนินงานอยางโปรงใส มีแนวทางในการปองกันความเสี่ยงที่อาจ
กอใหเกิดการทุจริตและสามารถยับยั้งการทุจริตที่อาจเกิดขึ้นได
¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧ¼Å»ÃÐ⪹·Ñº«ŒÍ¹
คําวา Conflict of Interests มีการใชคําในภาษาไทยไวหลายคํา เชน “ผลประโยชน
ทับซอน” “ผลประโยชนขัดกัน” “ผลประโยชนขัดแยง” หรือ “ความขัดแยงกันระหวางผลประโยชน
สวนตนและผลประโยชนสวนรวม” ถอยคําเหลานี้ถือเปนรูปแบบหนึ่งของการแสวงหาประโยชน
โดยมิชอบ อันเปนการกระทําที่ขัดตอหลักคุณธรรม จริยธรรม และหลักการบริหารกิจการบานเมือง
ที่ดี (Good Governance) โดยทั่วไปเรื่องผลประโยชนทับซอน จึงหมายถึงความทับซอนระหวาง
ผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสาธารณะที่มีผลตอการปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาที่ของรัฐ กลาวคือ
เปนสถานการณที่เจาหนาที่ของรัฐมีผลประโยชนสวนตนอยูและไดใชอิทธิพลตามอํานาจหนาที่และ
ความรับผิดชอบ เพื่อใหเกิดประโยชนสวนตัว โดยกอใหเกิดผลเสียตอผลประโยชนสวนรวม มีหลากหลาย
รูปแบบไมจํากัดวาจะอยูเฉพาะในรูปของตัวเงินหรือทรัพยสินเทานั้น แตรวมถึงผลประโยชนอื่นๆ
ที่ไมใชในรูปตัวเงินหรือทรัพยสิน
Ê Ó¹Ñ¡§Ò¹ ¡.¾. ไดใหนิยามคําวา “ผลประโยชนทับซอน” คือ สถานการณหรือการกระทํา
ของบุคคล (ไมวาจะเปนนักการเมือง ขาราชการ พนักงานบริษัท ผูบริหาร) มีผลประโยชนสวนตน
เขามาเกี่ยวของ จนสงผลกระทบตอการตัดสินใจ หรือการปฏิบัติหนาที่ในตําแหนงนั้น การกระทํา
ดังกลาวอาจเกิดขึ้นâ´ÂÃÙŒμÑÇËÃ×ÍäÁ‹ÃÙŒμÑÇ ·Ñé§à¨μ¹Ò ËÃ×ÍäÁ‹à¨μ¹Ò หรือบางเรื่องเปนการปฏิบัติสืบตอ
กันมาจนไมเห็นวาจะเปนสิ่งผิดแตอยางใด พฤติกรรมเหลานี้เปนการกระทําความผิดทางจริยธรรมของ
เจาหนาที่รัฐที่ตองคํานึงถึงผลประโยชนสาธารณะ (ประโยชนของสวนรวม) แตกลับตัดสินใจปฏิบัติหนาที่
โดยคํานึงถึงประโยชนของตนเองหรือพวกพอง
ผลประโยชนทับซอนหรือการขัดกันของผลประโยชน (conflict of interests) คือ
สถานการณที่บุคคลผูดํารงตําแหนงอันเปนที่ไววางใจ (เชน ทนายความ นักการเมือง ผูบริหาร หรือ