Page 48 - 06_การปองกนและปราบปรามการทจรต_Neat
P. 48

๔๑




                 ผูอํานวยการของบริษัทเอกชน หรือหนวยงานรัฐ) เกิดความขัดแยงขึ้นระหวางผลประโยชนสวนตัว
                 กับผลประโยชนทางวิชาชีพ (professional interests) อันสงผลใหเกิดปญหาที่เขาไมสามารถปฏิบัติ

                 หนาที่ไดอยางเปนกลาง/ไมลําเอียงผลประโยชนทับซอนที่เกิดขึ้น อาจสงผลใหเกิดความไมไววางใจที่มีตอ
                 บุคคลผูนั้นวาเขาจะสามารถปฏิบัติงานตามตําแหนงใหอยูในครรลองของคุณธรรมจริยธรรมไดมากนอย
                 เพียงใด

                             ¤ÇÒÁ¢Ñ´áÂŒ§ (Conflict) คือ สถานการณที่ขัดกัน ไมลงรอย เปนเหตุการณอันเกิดขึ้น
                 เมื่อบุคคลไมสามารถตัดสินใจกระทําอยางใดอยางหนึ่ง ความขัดแยงอาจเกิดขึ้นไดจากความไมลงรอยกัน

                 ในเรื่องความคิด แนวทางปฏิบัติ หรือผลประโยชน
                             ¼Å»ÃÐ⪹Ê‹Ç¹μ¹ (Private Interest) คือ ผลตอบแทนที่บุคคลไดรับโดยเห็นวา
                 มีคุณคาที่จะสนองตอบความตองการของตนเองหรือของกลุมที่ตนเองเกี่ยวของ ผลประโยชนเปนสิ่งจูงใจ

                 ใหคนเรามีพฤติกรรมตางๆ เพื่อสนองความตองการทั้งหลาย
                             ¼Å»ÃÐ⪹Ê‹Ç¹μ¹ ÁÕ ò »ÃÐàÀ· ¤×Í

                             ๑.  ผลประโยชนสวนตนที่เกี่ยวกับเงิน (pecuniary) ไมไดเกี่ยวกับการไดมาซึ่งเงินทอง
                 เทานั้น แตยังเกี่ยวกับการเพิ่มพูนประโยชนหรือปกปองการสูญเสียของสิ่งที่มีอยูแลว เชน ที่ดิน หุน
                 ตําแหนงที่รับงานจากหนวยงาน รวมถึงการไดมาซึ่งผลประโยชนอื่นๆ ที่ไมไดอยูในรูปตัวเงิน เชน

                 สัมปทาน สวนลด ของขวัญ หรือของที่แสดงนํ้าใจไมตรีอื่นๆ
                             ๒.  ผลประโยชนที่ไมเกี่ยวกับเงิน (non-pecuniary) เกิดจากความสัมพันธระหวางบุคคล

                 ครอบครัว หรือกิจกรรมทางสังคม วัฒนธรรมอื่นๆ เชน สถาบันการศึกษา สมาคม ลัทธิแนวคิด มักอยู
                 ในรูปความลําเอียง/อคติ/เลือกที่รักมักที่ชัง และมีขอสังเกตวาแมแตความเชื่อ/ความคิดเห็นสวนตัว

                 ก็จัดอยูในประเภทนี้
                             ¼Å»ÃÐ⪹Ê‹Ç¹ÃÇÁËÃ×ͼŻÃÐ⪹ÊÒ¸ÒóР(Public Interest) สิ่งใดก็ตามที่ให
                 ประโยชนสุขแกกลุมบุคคลทั้งหลายในสังคม ผลประโยชนสาธารณะยังหมายถึงหลักประโยชนตอมวลสมาชิก

                 ในสังคม
                             ¼Å»ÃÐ⪹·Ñº«ŒÍ¹ (Conflict of Interests) องคกรสากล หรือ Organization for

                 Economic Cooperation and Development (OECD) นิยามความหมายวาเปนความทับซอนระหวาง
                 ผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนทับซอน มี ๓ ประเภท คือ
                             ๑.  ผลประโยชนทับซอนที่เกิดขึ้นจริง (actual) มีความทับซอนระหวางผลประโยชน

                 สวนตน และสาธารณะเกิดขึ้น
                             ๒.  ผลประโยชนทับซอนที่เห็น (perceived & apparent) เปนผลประโยชนทับซอนที่คน

                 เห็นวามี แตจริงๆ อาจไมมีก็ได ถาจัดการผลประโยชนทับซอนประเภทนี้อยางขาดประสิทธิภาพ
                 ก็อาจนํามาซึ่งผลเสียไมนอยกวาการจัดการผลประโยชนทับซอนที่เกิดขึ้นจริง ขอนี้แสดงวาเจาหนาที่

                 ไมเพียงแตจะตองประพฤติตนอยางมีจริยธรรมเทานั้น แตตองทําใหคนอื่นๆ รับรูและเห็นดวยวา
                 ไมไดรับประโยชนเชนนั้นจริง
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53