Page 54 - 09_กฎหมายอนทเกยวของกบการปฏบตหนาท_Neat
P. 54

๔๗




                                      ในกรณีที่มีผูประสงคจะฟองคดีปกครองหลายคนในเหตุเดียวกัน บุคคลเหลานั้น
                 อาจยื่นคําฟองรวมกันเปนฉบับเดียว โดยจะมอบหมายใหผูฟองคดีคนใดเปนผูแทนของผูฟองคดี

                 ทุกคนในการดําเนินคดีตอไปก็ได ในกรณีเชนวานี้ใหถือวาการกระทําของผูแทนผูฟองคดีในกระบวน
                 พิจารณาผูกพันผูฟองคดีทุกคน
                                      การฟองคดีไมตองเสียคาธรรมเนียมศาล เวนแตการฟองคดีขอใหสั่งใหใชเงิน
                 หรือสงมอบทรัพยสินอันสืบเนื่องจากคดีตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๓) หรือ (๔) ใหเสียคาธรรมเนียมศาล

                 ตามทุนทรัพยในอัตราตามที่ระบุไวในตาราง ๑ ทายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง สําหรับ
                 คดีที่มีคําขอใหปลดเปลื้องทุกขอันอาจคํานวณเปนราคาเงินได

                                      ในการดําเนินกระบวนพิจารณา คูกรณีจะดําเนินการทั้งปวงดวยตนเอง
                 หรือจะมอบอํานาจใหทนายความหรือบุคคลอื่น ซึ่งมีคุณสมบัติตามระเบียบของที่ประชุมใหญตุลาการ
                 ในศาลปกครองสูงสุดกําหนดเพื่อฟองคดีหรือดําเนินการแทนได”
                                      สําหรับวิธีการยื่นคําฟองนั้นจะยื่นดวยตนเองหรือมอบอํานาจใหผูอื่นยื่นแทน

                 หรือจะสงทางไปรษณียลงทะเบียนก็ได ตามมาตรา ๔๖
                                      “ÁÒμÃÒ ôö คําฟองใหยื่นตอพนักงานเจาหนาที่ของศาลปกครอง ในการนี้

                 อาจยื่นคําฟองโดยสงทางไปรษณียลงทะเบียนก็ได และเพื่อประโยชนในการนับอายุความ ใหถือวา
                 วันที่สงคําฟองแกเจาพนักงานไปรษณียเปนวันที่ยื่นคําฟองตอศาลปกครอง”
                                 õ.ó ¼ÙŒ¿‡Í§¤´ÕμŒÍ§à»š¹¼ÙŒ·ÕèÁÕ¤ÇÒÁÊÒÁÒöμÒÁ¡®ËÁÒÂ
                                      โดยหลักแลวผูฟองคดีตองเปนผูที่มีความสามารถในการทํานิติกรรมตามประมวล

                 กฎหมายแพงและพาณิชย หากผูฟองคดีมีขอบกพรองในเรื่องความสามารถก็จะตองดําเนินการแกไข
                 ตามที่ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยบัญญัติไว

                                 õ.ô ¼ÙŒ¿‡Í§¤´ÕμŒÍ§à»š¹¼ÙŒÁÕÊÔ·¸Ô¿‡Í§¤´Õ
                                      ผูฟองคดีตองเปนผูมีสิทธิฟองคดีตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๔๒ แหงพระราช
                 บัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.๒๕๔๒ กลาวคือ จะตองเปนผูที่ไดรับ
                 ความเดือดรอนหรือเสียหายหรืออาจจะเดือดรอนหรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเลี่ยงไดจากการกระทํา

                 หรืองดเวนการกระทําอยางหนึ่งอยางใดของหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐ หรือมี
                 ขอโตแยงเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง หรือกรณีอื่นใดที่อยูในเขตอํานาจของศาลปกครอง ซึ่งในความ

                 เปนจริงสวนใหญแลวผูเสียหายในคดีปกครองก็คือประชาชนทั่วไปที่ไดรับความเดือดรอนหรือเสียหาย
                 จากการกระทําทางปกครอง แตหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐก็อาจเปนผูเสียหาย
                 และฟองคดีปกครองได เชนกัน

                                      สําหรับกรณีความรับผิดทางละเมิดหรือความรับผิดอยางอื่นของฝายปกครอง
                 หรือสัญญาทางปกครองนั้น มีความชัดเจนอยูในตัววา “ผูไดรับความเดือดรอนหรือเสียหาย
                 หรืออาจจะเดือดรอนหรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเลี่ยงได” นั้น จะตองเปนผูที่ถูก “โตแยงสิทธิ”

                 เทานั้น เพราะตองเปน “ผูทรงสิทธิ” โดยสภาพ และสิทธิของเขาถูกโตแยงดวยการกระทําละเมิด
                 หรือการไมปฏิบัติตามสัญญาของฝายปกครอง หรืออสังหาริมทรัพยของเขาถูกเวนคืน
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59