Page 52 - 09_กฎหมายอนทเกยวของกบการปฏบตหนาท_Neat
P. 52
๔๕
ดังนั้น คดีปกครองที่อยูในอํานาจของศาลปกครองสูงสุด ๔ ประเภทตามมาตรา ๑๑ คือ
๑) คดีพิพาทเกี่ยวกับคําวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาทตามที่
ที่ประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุดประกาศกําหนด ขณะนี้ที่ประชุมใหญฯ ยังไมไดกําหนดให
คดีพิพาทเกี่ยวกับคําวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาทฟองตอศาลปกครองสูงสุดได จึงตองฟองคดี
ดังกลาวตอศาลปกครองชั้นตน เพราะเปนคดีตามมาตรา ๙ (๑) อยูแลว และเมื่อใดที่มีประกาศกําหนด
ของที่ประชุมใหญฯ ใหคําวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาทใดฟองตอศาลปกครองสูงสุดได
ก็ตองใชหลักเกณฑตามมาตรา ๙ (๑) อํานาจของศาลในการพิพากษาคดีจะเปนไปตามมาตรา ๗๒ (๑)
๒) คดีพิพาทเกี่ยวกับความชอบดวยกฎหมายของพระราชกฤษฎีกา หรือกฎที่ออก
โดยคณะรัฐมนตรี หรือโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี โดยปกติคดีประเภทนี้ก็เปนคดีลักษณะ
เดียวกับคดีตามมาตรา ๙ (๑) นั่นเอง แตดวยความสําคัญของกฎดังกลาวจึงใหฟองตอศาลปกครอง
สูงสุดไดโดยตรง อํานาจของศาลในการพิพากษาคดีจะเปนไปตามมาตรา ๗๒ (๑)
๓) ลักษณะคดีที่มีกฎหมายเฉพาะกําหนดใหอยูในอํานาจของศาลปกครองสูงสุด
ปจจุบันไมปรากฏวามีกฎหมายเฉพาะดังกลาว
๔) คดีที่อุทธรณคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลปกครองชั้นตน คดีประเภทนี้มีการ
กําหนดขั้นตอนการตรวจอุทธรณ การพิจารณาอุทธรณและการพิพากษาหรือมีคําสั่งในคดีอุทธรณไว
โดยเฉพาะ
อนึ่ง คดีตาม (๑) และ (๒) ขางตน ผูฟองคดีอาจเรียกคาเสียหายตามมาตรา ๙ (๓)
ไปพรอมกันก็ได ซึ่งศาลปกครองสูงสุดก็จะมีอํานาจพิพากษาเชนเดียวกับศาลปกครองชั้นตน ดังที่กลาว
มาแลว
õ. à§×è͹䢡Òÿ‡Í§¤´Õμ‹ÍÈÒÅ»¡¤Ãͧ
เรื่องที่นํามาฟองตองเปนคดีปกครอง และตองเปนเรื่องที่อยูในอํานาจพิจารณา
พิพากษาของศาลปกครอง ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๑๙๗
ซึ่งบัญญัติวา
“ÁÒμÃÒ ñù÷ ศาลปกครองมีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีปกครองอันเนื่องมาจาก
การใชอํานาจทางปกครองตามกฎหมายหรือเนื่องมาจากการดําเนินกิจการทางปกครอง ทั้งนี้ ตามที่
กฎหมายบัญญัติ
ใหมีศาลปกครองสูงสุดและศาลปกครองชั้นตน
อํานาจศาลปกครองตามวรรคหนึ่ง ไมรวมถึงการวินิจฉัยชี้ขาดขององคกรอิสระ
ซึ่งเปนการใชอํานาจโดยตรงตามรัฐธรรมนูญขององคกรอิสระนั้น ๆ
การจัดตั้ง วิธีพิจารณาคดี และการดําเนินงานของศาลปกครองใหเปนไปตามกฎหมาย
วาดวยการนั้น”