Page 193 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 193

๑๘๖




              ของพยานบอกเลา เหตุผลที่ไมยอมรับและขอคัดคานของคูความฝายที่เกี่ยวของไว สวนเหตุผล
              ที่คูความฝายคัดคานยกขึ้นอางนั้น ใหศาลใชดุลยพินิจจดลงไวในรายงานหรือกําหนดใหคูความฝายนั้น

              ยื่นคําแถลงตอศาลเพื่อรวมไวในสํานวน”
                                     จากบทบัญญัติของมาตรา  ๒๒๖/๓  วรรคแรก  แสดงใหเห็นไดวา

              พยานบอกเลานั้นไมใชมีเพียงเฉพาะคําบอกกลาวของบุคคลที่มาเบิกความตอศาลเพียงอยางเดียว
              เทานั้น แตกฎหมายยังใหความหมายที่กวางออกไป กลาวคือ พยานบอกเลานั้นอาจอยูในรูปแบบ

              ของเอกสารหรือสื่อบันทึกเสียง ที่มีขอมูลมาจากการบอกกลาวของบุคคล เพื่อนํามาพิสูจนความจริง
              แหงขอความนั้นได เชน บันทึกคําใหการของผูตองหาในชั้นจับกุม เทปบันทึกเสียงหรือแผนบันทึกเสียง

              การเลาเรื่องของผูเห็นเหตุการณ เปนตน
                                     จากมาตรา ๒๒๖/๓ วรรคสอง กําหนดชัดเจนวา “หามมิใหศาลรับฟง

              พยานบอกเลา” เหตุผลที่ศาลไมอาจรับฟงขอเท็จจริงที่นําสืบโดยพยานบอกเลามาเปนหลักในการ
              พิจารณาพิพากษาคดี ก็ดวยเหตุผลคือ

                                     ๑.  บุคคลซึ่งเปนผูเลาขอเท็จจริงไมไดเปนผูที่จะมาเบิกความตอศาล จึงไม

              ตองผานการสาบานตนกอนเบิกความตอศาล จึงไมมีหลักประกันวาเขาจะพูดความจริงหรือไม
                                     ๒.  เมื่อเรื่องที่บุคคลเลานั้นจะเปนขอความอันเปนเท็จ ผูบอกเลานั้นก็ไม
              ตองรับผิดฐานเบิกความเท็จ

                                     ๓.  ขอเท็จจริงที่บุคคลนั้นเลามาอาจมีการคลาดเคลื่อน เนื่องจากฟง

              หลายตอหลายทอด อาจมีการแตงเติมหรือเปลี่ยนแปลงไปได
                                     ๔.  บุคคลที่บอกเลานั้น ไมไดรูเห็นเหตุการณดวยตนเอง หากมาเบิกความ

              ตอศาล ทําใหคูกรณีไมสามารถซักคาน และจะซักคานไปก็คงไมไดประโยชนอะไรมากนัก
                                  ¢ŒÍ¡àÇŒ¹ã¹¡ÒÃÃѺ¿˜§¾ÂÒ¹ºÍ¡àÅ‹ÒμÒÁÁÒμÃÒ òòö/ó

                                     อยางไรก็ตาม ดังที่กลาวขางตนวาในบางคดี เจาพนักงานตํารวจไมสามารถ
              หาประจักษพยานที่เห็นเหตุการณขณะเกิดเหตุได นอกจากคําบอกกลาวของบุคคลที่รับรูขอเท็จจริง

              กฎหมายจึงยินยอมใหมีการรับฟงพยานหลักฐาน ที่เปนพยานบอกเลาประกอบกับพยานหลักฐานอื่นๆ ได
              ซึ่งกรณีขอยกเวนดังกลาวไดกําหนดไวในมาตรา ๒๒๖/๓ วรรคสอง (๑) และ (๒) กฎหมายไดเขียน

              ขอยกเวนในการรับฟงพยานบอกเลาคอนขางกวางและยืดหยุนใน ๒ กรณี คือ
                                     ๑.  กรณีที่พยานบอกเลานั้นÁդسÀÒ¾ËÃ×ÍÁÕ¤ÇÒÁ¹‹Òàª×èͶ×Í ซึ่งกรณีนี้

              ศาลจะพิจารณาวาพยานบอกเลานั้นมีคุณคาในเชิงพิสูจนความจริงในคดีไดดีมากแคไหน ศาลจะพิจารณา
              จากปจจัย ๔ ประการ คือ

                                   (๑)  สภาพของพยานบอกเลา
                                   (๒) ลักษณะของพยานบอกเลา

                                   (๓) แหลงที่มาของพยานบอกเลา
   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198