Page 34 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 34

๒๗


                                                       º··Õè ò



                                                        ¼ÙŒàÊÕÂËÒÂ




                 ò.ñ ºØ¤¤Å㹡Ãкǹ¡ÒÃดําà¹Ô¹¤´ÕÍÒÞÒ

                             ในกระบวนการดําเนินคดีอาญา จะมีบุคคลหลายประเภท อันไดแก
                             ๑.  ผูกลาวหา ซึ่งแยกออกเปน ผูกลาวโทษ ผูเสียหาย

                             ๒.  ผูถูกกลาวหา ซึ่งผูถูกกลาวหาแบงออกเปน ๒ ฐานะ คือ ผูตองหาซึ่งหมายถึงบุคคล
                 ผูถูกกลาวหาวาไดกระทําความผิด แตยังมิไดถูกฟองตอศาล และเมื่อบุคคลนั้นถูกฟองยังศาลแลว

                 ก็จะเปลี่ยนฐานะเปนจําเลย
                             ๓.  ทนายความ

                             ๔.  พนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ
                             ๕.  พนักงานสอบสวน

                             ๖.  พนักงานอัยการ
                             ๗.  ศาล

                             ๘.  พยานบุคคล พยานผูชํานาญการพิเศษ



                             ในการเริ่มตนที่จะนําคดีความที่เกิดจากการที่มีบุคคลกระทําความผิดขึ้นสูการพิจารณา
                 พิพากษาคดีของศาล ไดนั้น จะมีอยู ๒ ประเภทคือ

                             ๑.  พนักงานอัยการ
                                 โดยพนักงานอัยการก็คือบุคคลที่รัฐนั้น มอบหนาที่ใหฟองผูตองหาที่ถูกกลาวหาวา

                 ไดกระทําความผิดทางอาญาตอศาล โดยการฟองคดีอาญาของพนักงานอัยการจะตองมีการสอบสวน
                 จากพนักงานสอบสวน และพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบไดสงสํานวนการสอบสวนใหแกพนักงาน

                 อัยการเพื่อพิจารณาสั่งฟองตอไป และเมื่อพนักงานอัยการมีความเห็นสั่งฟองคดี แลวก็ตองนําตัว
                 ผูตองหาไปฟองศาล และเมื่อไดฟองแลวผูตองหาก็จะมีฐานะเปนจําเลย

                             ๒.  ผูเสียหาย
                                 สวนการฟองเปนคดีโดยผูเสียหายนั้นเปนการฟองคดีโดยบุคคลที่ไดรับความเสียหาย

                 เนื่องจากการกระทําความผิดทางอาญาฐานใดฐานหนึ่งตามประมวลกฎหมายอาญา และผูเสียหายนั้น
                 มิไดเปนบุคคลที่มีสวนเกี่ยวของกับการกระทําความผิด นอกจากนี้ ผูเสียหายจะตองเปนบุคคลตาม

                 หลักเกณฑมาตรา ๒ (๔) แหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาตอไปนี้
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39