Page 68 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 68
๖๑
ที่เปนเด็กอายุไมเกินสิบแปดป ใหพนักงานสอบสวนแยกกระทําเปนสวนสัดในสถานที่ที่เหมาะสม
สําหรับเด็ก และใหมีนักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห บุคคลที่เด็กรองขอ และพนักงานอัยการรวม
อยูดวยในการถามปากคําเด็กนั้นและในกรณีที่นักจิตวิทยาหรือสังคมสงเคราะหเห็นวาการถามปากคําเด็ก
คนใดหรือคําถามใด อาจจะมีผลกระทบกระเทือนตอจิตใจเด็กอยางรุนแรงใหพนักงานสอบสวนถาม
ผานนักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะหเปนการเฉพาะตามประเด็นคําถามของพนักงานสอบสวน
โดยมิใหเด็กไดยินคําถามของพนักงานสอบสวนและหามมิใหถามเด็กซํ้าซอนหลายครั้งโดยไมมีเหตุ
อันสมควร”
ดังนั้น จะเห็นไดวา เมื่อนําบทบัญญัติมาตรา ๑๓๓ ทวิ วรรคหนึ่ง ดังกลาว มาบังคับใช
โดยอนุโลมในการบันทึกคํารองทุกขคดีที่ผูเสียหายเปนเด็กอายุไมเกิน ๑๘ ป ตามที่มาตรา ๑๒๔/๑
กําหนดแลว เชนนี้ พนักงานสอบสวนและพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจซึ่งเปนผูรับคํารองทุกขตาม
มาตรา ๑๒๓ และ ๑๒๔ มีหนาที่ปฏิบัติตามหลักเกณฑของกฎหมายดังนี้
๑) วิธีการจดบันทึกคํารองทุกขที่จะตองปฏิบัติตามหลักเกณฑที่มาตรา ๑๒๔/๑ ประกอบ
มาตรา ๑๓๓ ทวิ กําหนดใหตองมี¡ÅØ‹ÁÊËÇԪҪվËÇÁดวยนั้น จะใช੾ÒлÃÐàÀ·¤´Õที่กฎหมายกําหนด
ไวเทานั้น คือ
(๑) คดีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา เฉพาะ
- ความผิดเกี่ยวกับเพศ
- ความผิดเกี่ยวกับชีวิตรางกาย อันมิใชความผิดที่เกิดจากการชุลมุนตอสู
- ความผิดเกี่ยวกับเสรีภาพ
- ความผิดฐานกรรโชก ชิงทรัพย และปลนทรัพย
(๒) คดีความผิดตามกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการคาประเวณี
(๓) คดีความผิดตามกฎหมายวาดวยมาตรการในการปองกันและปราบปราม
การคาหญิงและเด็ก
(๔) คดีความผิดตามกฎหมายวาดวยสถานบริการ
(๕) คดีความผิดอื่นที่มีอัตราโทษจําคุกซึ่งผูเสียหายที่เปนเด็กอายุไมเกิน ๑๘ ป
รองขอ