Page 69 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 69

๖๒




               ¢ŒÍÊѧà¡μ
                       นายธานิศ เกศวพิทักษ รองประธานศาลฎีกา ไดใหขอสังเกตวา เจตนารมณของÁÒμÃÒ ñóó ·ÇÔ äÁ‹»ÃÐʧ¤
               ¨ÐãËŒ¤ÇÒÁ¤ØŒÁ¤Ãͧᡋà´ç¡ ¡Ò÷ÕèࢌÒËÇÁ㹡ÒêØÅÁعμ‹ÍÊÙŒ กลาวคือ ไมคุมครองผูเสียหายหรือพยานที่เปนเด็กที่เขาในการ
               ชุลมุนตอสู แมจะเปนคดีอาญาตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๒๙๔, ๒๙๙ ก็ตาม แตหากผูเสียหายหรือพยานที่เปน
               เด็กนั้น เปนผูบริสุทธิ์ไมไดเขารวมในการชุลมุนตอสู แตบังเอิญอยูในบริเวณดังกลาวเชนนี้ เด็กนั้นนาจะไดรับความคุมครอง
               สิทธิตามมาตรา ๑๓๓ ทวินี้ โดยไมตองรองขอ (ธานิศ  เกศวพิทักษ, ๒๕๕๗)
                        เห็นไดวาคดีตามขอ (๑) - (๔) ขางตนนั้นเปนหนาที่ของผูรับคํารองทุกขรอง ที่จะตองจัดใหมีกลุมสหวิชาชีพรวมในการ
               จดบันทึกคํารองทุกข แตถาเปนคดีความผิดอื่นที่มีอัตราโทษจําคุกมิใชคดีตามขอ (๑) - (๔) ซึ่งนอกเหนือจากที่มาตรา ๑๓๓ ทวิ
               วรรคแรกระบุไวนั้น ผูรับคํารองทุกขจะนําหลักเกณฑการจดบันทึกคํารองทุกข ที่กําหนดไวตามมาตรา ๑๒๔/๑ ประกอบมาตรา
               ๑๓๓ ทวิ วรรคแรกมาใชเมื่อผูเสียหายที่เปนเด็กรองขอ




                          ๒)  พนักงานสอบสวนและพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจผูรับคํารองทุกขจะตองปฏิบัติ
              ตามที่มาตรา ๑๓๓ ทวิ กําหนดกลาวคือ
                             (๑)  จะตองá¡¡ÃÐทํา໚¹Ê‹Ç¹ÊÑ´ã¹Ê¶Ò¹·Õè·ÕèàËÁÒÐÊÁสําหรับเด็ก

                             (๒) ตองจัดãËŒÁÕ¡ÅØ‹ÁÊËÇÔªÒªÕ¾ คือ นักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห บุคคลที่
              ผูเสียหาย  ซึ่งเปนเด็กรองขอ  และพนักงานอัยการ  รวมอยูดวยในการจดบัันทึกคํารองทุกข

              โดยมาตรา ๑๓๓ ทวิ วรรคสอง กําหนดใหเปนหนาที่ของพนักงานสอบสวน ที่จะตองแจงใหนักจิตวิทยา
              หรือนักสังคมสงเคราะห บุคคลที่เด็กรองขอ และพนักงานอัยการทราบ
                             ในกรณีจําเปนเรงดวนอยางยิ่งซึ่งมีเหตุอันควร ไมอาจรอบุคคลในกลุมสหวิชาชีพ
              หรือบุคคลที่เด็กรองขอ เขารวมในการถามปากคําพรอมกันได มาตรา ๑๓๓ ทวิ วรรคหา ใหพนักงาน

              สอบสวนถามปากคํา โดยมีบุคคลใดบุคคลหนึ่งดังที่กลาวมาขางตนอยูรวมก็ได แตตองบันทึกเหตุที่ไม
              อาจรอบุคคลอื่นไวในสํานวนการสอบสวน และมิใหถือวาการถามปากคําผูเสียหายหรือพยานซึ่งเปน

              เด็กในกรณีดังกลาวที่ไดกระทําไปแลวไมชอบดวยกฎหมาย

               ¢ŒÍÊѧà¡μ
                       ในกรณีที่ไมอาจรอบุคคลในกลุมสหวิชาชีพหรือบุคคลที่เด็กรองขอนั้น ในมาตรา ๑๒๔/๑ ไดบัญญัติไวตอนทายวา

               “.....เวนแตมีเหตุจําเปนไมอาจหาหรือรอนักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห บุคคลที่เด็กรองขอ และพนักงานอัยการได
               และเด็กไมประสงคจะใหมีหรือรอบุคคลดังกลาวตอไป ทั้งนี้ ใหผูรับคํารองทุกขตามมาตรา ๑๒๓ หรือมาตรา ๑๒๔
               แลวแตกรณี บันทึกเหตุดังกลาวไวในบันทึกคํารองทุกขดวย”
                       จากมาตราดังกลาว แสดงวา กฎหมายยอมยกเวนใหผูรับคํารองทุกขมีอํานาจจดบันทึกคํารองทุกขในกรณีมีเหตุ
               จําเปน ไมอาจหาหรือรอบุคคลในกลุมสหวิชาชีพใหครบถวนทุกประเภทได กลาวคือ μŒÍ§à»š¹¡Ã³Õà´ç¡äÁ‹»ÃÐʧ¤¨ÐãËŒÁÕ
               ËÃ×ÍäÁ‹»ÃÐʧ¤¨ÐÃͺؤ¤Åดังกลาวตอไป
                       ดังนั้น หากเด็กยังประสงคจะใหมีหรือรอบุคคลดังกลาว ผูรับคํารองทุกขตองปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กฎหมายกําหนด
               อยางไรก็ตาม การที่กฎหมายยอมรับความประสงคของผูเสียหายที่เปนเด็กอายุไมเกิน ๑๘ ป ที่ไมตองการใหมีหรือรอบุคคล
               ที่กฎหมายกําหนด จะใชเฉพาะเรื่อง การจดบันทึกคํารองทุกข ในคดีที่ผูเสียหายเปนเด็กอายุไมเกิน ๑๘ ป ตามมาตรา ๑๒๔/๑
               เทานั้น แตหากเปนกรณีที่พนักงานสอบสวนถามปากคําผูเสียหายหรือพยานตามมาตรา ๑๓๓ ทวิ วรรคหนึ่ง หรือถามปากคํา
               ผูตองหาที่เปนเด็กอายุไมเกิน ๑๘ ปตามมาตรา ๑๓๔/๒ ประกอบมาตรา ๑๓๓ ทวิ พนักงานสอบสวนตองปฏิบัติตาม
               มาตรา ๑๓๓ ทวิ อยางเครงครัด จะปฏิบัติตามความตองการของเด็กไมได (ธานิศ เกศวพิทักษ, ๒๕๕๘)
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74