Page 67 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 67

๖๐




              μÑÇÍ‹ҧคํา¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒŮաÒ
                          คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒ®Õ¡Ò·Õè ôðøð/òõôð   ในความผิดฐานลักทรัพยหรือรับของโจร ซึ่งเปน

              ความผิดอาญาแผนดิน การที่หนังสือมอบอํานาจของผูเสียหายใหมารองทุกขระบุชื่อผูกระทําความผิด
              ไมถูกตอง เจาพนักงานตํารวจก็ดําเนินคดีกับผูกระทําความผิดได

                          คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒ®Õ¡Ò·Õè ôõóù/òõõô  ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๒,
              ๑๕๗ เปนความผิดอาญาแผนดิน ไมใชความผิดตอสวนตัว พนักงานสอบสวนมีอํานาจสอบสวนได

              โดยไมจําตองมีคํารองทุกข โจทกจึงมีอํานาจฟองตาม ป.วิอาญา มาตรา ๑๒๐ และมาตรา ๑๒๑



                          ๒)  ในกรณีที่ผูเสียหายถอนคํารองทุกข ถาคดีที่ฟองรองนั้น ໚¹¤´Õμ‹ÍʋǹμÑÇเชนนี้
              ไมวาผูเสียหายจะขอถอนคํารองทุกขเมื่อใดยอมกระทําได (ป.วิอาญา มาตรา ๑๒๖ วรรคแรก) ดังนั้น

              ไมวาคดีนั้นจะอยูในขั้นตอนการพิจารณาของศาลชั้นตน ศาลอุทธรณหรือศาลฎีกาก็ตาม กอนคดี
              ถึงที่สุด ผูเสียหายยอมถอนคํารองทุกขไดเสมอ และเมื่อถอนคํารองทุกขแลวจะสงผลในคดีอาญานั้น

              ระงับไปตามมาตรา ๓๙ (๒)
                             แตหากเปน¤ÇÒÁ¼Ô´ÍÒÞÒἋ¹´Ô¹ แมวาผูเสียหายจะถอนคํารองทุกขก็ตาม การถอน

              คํารองทุกขเชนนั้น ไมตัดอํานาจของพนักงานสอบสวนที่จะสอบสวนตอไป หรือไมตัดอํานาจพนักงาน
              อัยการที่จะฟองคดีนั้น



              ó.÷ ¡Ò贺ѹ·Ö¡คําÌͧ·Ø¡¢ã¹¤´Õ·Õè¼ÙŒàÊÕÂËÒÂ໚¹à´ç¡ËÃ×ÍàÂÒǪ¹

                          ในกรณีที่ผูเสียหายเปนเด็กอายุไมเกิน ๑๘ ป นั้น ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
              มาตรา ๑๒๔/๑ บัญญัติวา “ใหนําบทบัญญัติในมาตรา ๑๓๓ ทวิ วรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสาม

              มาใชบังคับโดยอนุโลมแกการจดบันทึกคํารองทุกขในคดีที่ผูเสียหายเปนเด็กอายุไมเกินสิบแปดป
              เวนแตมีเหตุจําเปนไมอาจหาหรือรอนักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห บุคคลที่เด็กรองขอและ

              พนักงานอัยการได และเด็กไมประสงคจะใหมีหรือรอบุคคลดังกลาวตอไป ทั้งนี้ ใหผูรับคํารองทุกข
              ตามมาตรา ๑๒๓ หรือมาตรา ๑๒๔ แลวแตกรณี บันทึกเหตุดังกลาวไวในบันทึกคํารองทุกขดวย”

              จากมาตราดังกลาวที่ระบุใหการจดบันทึกรองทุกขคดีที่ผูเสียหายเปนเด็กอายุไมเกิน ๑๘ ป โดยนํา

              หลักเกณฑที่กําหนดไวในมาตรา ๑๓๓ ทวิ มาบังคับใชโดยอนุโลม
                          มาตรา ๑๓๓ ทวิ วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “ในคดีความผิดเกี่ยวกับเพศ ความผิดเกี่ยวกับชีวิต
              และรางกายอันมิใชความผิดที่เกิดจากการชุลมุนตอสู ความผิดเกี่ยวกับเสรีภาพ ความผิดฐานกรรโชก

              ชิงทรัพยและปลนทรัพย ตามประมวลกฎหมายอาญา ความผิดตามกฎหมายวาดวยการปองกัน

              และปราบปรามการคาประเวณี ความผิดตามกฎหมายวาดวยมาตรการในการปองกันและปราบปราม
              การคาหญิงและเด็ก ความผิดตามกฎหมายวาดวยสถานบริการหรือคดีความผิดอื่นที่มีอัตราโทษจําคุก

              ซึ่งผูเสียหายหรือพยานที่เปนเด็กอายุไมเกินสิบแปดปรองขอ การถามปากคําผูเสียหายหรือพยาน
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72