Page 66 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 66

๕๙




                             คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒ®Õ¡Ò·Õè ñùõô/òõóð  หนังสือพิมพลงขาววาจําเลยใหสัมภาษณ โดยมี
                 ขอความ ซึ่งอานแลวรูไดทันทีวาจําเลยหมิ่นประมาทโจทก ถือไดแลววาโจทกรูตัวผูกระทําความผิด

                 ตั้งแตวันที่โจทกไดอานขาวตามหนังสือพิมพนั้น ไมจําตองแสวงหาหลักฐานเพื่อฟองคดีหรือสืบสวน
                 จนเปนที่แนใจวาจําเลยเปนผูกระทําความผิดกอน จึงจะรองทุกขดําเนินคดี เมื่อโจทกไมรองทุกขภายใน
                 ๓ เดือน คดีของโจทกจึงขาดอายุความ ตาม ป.อาญา มาตรา ๙๖

                             คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒ®Õ¡Ò·Õè óù/òõõò  โจทกรวมรูวาจําเลยเจตนาฉอโกงตนในวันใด อายุความ
                 รองทุกข ตองเริ่มตั้งแตวันนั้น การที่โจทกรวมพยายามโทรศัพทถึงจําเลยอีกหลายครั้งหลายหน

                 ในเวลาตอมา ทั้งๆ ที่จําเลยรับบางไมรับบาง หรือบางครั้งรับปากวาจะนําเงินไปชําระแตแลวผิดนัด
                 เปนเรื่องที่โจทกรวมผอนผันหรือใหโอกาสแกจําเลย ถือไมไดวาโจทกรวมเพิ่งทราบถึงการกระทํา

                 ความผิดของจําเลย
                             คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒ®Õ¡Ò·Õè ñòö÷õ/òõõø  ความผิดฐานยักยอกตาม ป.อ. มาตรา ๓๕๒ เปน

                 ความผิดอันยอมความได โจทกรวมตองรองทุกขภายใน ๓ เดือน นับแตวันรูเรื่องความผิดและรูตัว
                 ผูกระทําความผิด มิฉะนั้นคดีเปนอันขาดอายุความ ตาม ป.อ. มาตรา ๙๖ คดีนี้ขอเท็จจริงปรากฏตาม
                 คําเบิกความของโจทกรวมเองวา เมื่อวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๕๕ จําเลยยอมรับกับโจทกรวมวาได

                 ยักยอกเงินคาจําหนายสินคาของโจทกรวมไปจริง ดังนี้ จึงเทากับโจทกรวมไดรูเรื่องความผิดและรูตัว
                 ผูกระทําความผิดตั้งแตวันดังกลาวแลว การที่โจทกรวมใหจําเลยนําเงินมาชดใชคืนและจะตรวจสอบบัญชี

                 เพื่อทราบยอดเงินที่สูญหายไปใหชัดแจงอีกครั้งดังที่อาง เปนเรื่องโจทกรวมยอมผอนผันหรือใหโอกาส
                 แกจําเลยในฐานะที่เคยเปนลูกจางของตนเทานั้น ไมทําใหสิทธิในการรองทุกขของโจทกรวมขยายออกไป

                 ดังนั้นเมื่อโจทกรวมเพิ่งไปรองทุกขเมื่อวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๕ จึงพนกําหนด ๓ เดือน นับแตวันที่
                 โจทกรวมรูเรื่องความผิดและรูตัวผูกระทําความผิดแลว คดีของโจทกและโจทกรวมในความผิดฐานยักยอก

                 จึงขาดอายุความตาม ป.อ. มาตรา ๙๖ สิทธินําคดีอาญามาฟองของโจทกและโจทกรวมยอมระงับไป
                 ตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๓๙ (๖) พนักงานอัยการโจทกจึงไมมีสิทธิเรียกทรัพยสินหรือราคาแทนโจทกรวมได


                 ó.ö ¤ÇÒÁสํา¤ÑޢͧคําÌͧ·Ø¡¢

                             คํารองทุกขมีความสําคัญตอการดําเนินคดีตามกฎหมายโดยเฉพาะอยางยิ่งในคดีความผิด

                 ตอสวนตัว กลาวคือ
                             ๑)  คํารองทุกข นอกจากจะเปนเงื่อนไขสําคัญของอํานาจสอบสวนของพนักงานสอบสวน
                 㹤´Õ¤ÇÒÁ¼Ô´μ‹ÍʋǹμÑÇ แลวยังสงผลตอไปยังอํานาจฟองของพนักงานอัยการ เพราะในคดีความผิด

                 ตอสวนตัวนั้น หากผูเสียหายไมไดรองทุกขแลวพนักงานสอบสวนก็ไมอาจทําการสอบสวนได พนักงาน
                 อัยการจึงไมอาจฟองรองดําเนินคดีกับผูกระทําความผิดนั้นได

                                 แตหากเปน¤ÇÒÁ¼Ô´ÍÒÞÒἋ¹´Ô¹ ความสําคัญของการรองทุกขก็จะไมมีความ
                 จําเปนตอการดําเนินคดีของพนักงานสอบสวนมากนัก เพราะพนักงานสอบสวนสามารถเริ่มตนคดีจาก

                 “คํากลาวโทษ” ตาม ป.วิอาญา มาตรา ๒ (๘) ได ซึ่งในกรณีดังกลาวผูกลาวโทษไมจําตองเปนผูเสียหาย
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71