Page 185 - New โครงการ งานจักรยานยนต์
P. 185

182





                                       11.2 ไฟเลี้ยว ไฟแตรและไฟเบรก

              11.2.1 หน้ำที่ไฟเลี้ยว (Turn Signal Lights)

                      ไฟเลี้ยวเป็นไฟกะพริบ เพื่อเตือนให้ผู้ที่ใช้ ทางร่วมรู้ว่ารถคันหน้าก าลังจะเลี้ยวหรือ

              แซงสัญญาณไฟเลี้ยวกะพริบเกิดจากรีเลย์ไฟ เลี้ยวในวงจรแสดงให้เห็นถึงการตัด ต่อวงจรไฟ
              เลี้ยวอย่างสม่ าเสมอ ประมาณ 60-80  ครั้งต่อนาที รีเลย์ไฟเลี้ยวแบ่งเป็นแบบคอนเดนเซอร์

              และแบบทรานซิสเตอร์ (Transistor)

              11.2.2 รีเลย์ไฟเลี้ยวแบบคอนเดนเซอร์ (Capacitor-type Turn Signal Relays)
                      แบบคอนเดนเซอร์เป็นแบบเก็บประจุ และคายประจุไฟฟ้าไปกระตุ้นแม่เหล็กไฟฟ้า

              เพื่อ สร้างสัญญาณไฟกะพริบผ่านคอนแทค

                    1. เมื่อเปิดสวิตช์จุดระเบิดไปยังต าแหน่ง ON  กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านไปยังหน้าคอน
                    แทค P ผ่านไปยังขดลวด L และเก็บประจุใน คอนเดนเซอร์ C
                                             2
                    2. เมื่อโยกสวิตช์ไฟเลี้ยวไปต าแหน่งเลี้ยว ซ้ายหรือขวา กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านหน้า

                    คอนแทค P  และขดลวด L ผ่านสวิตช์ไฟเลี้ยวและหลอดไฟ เลี้ยว F หลอดไฟเลี้ยว
                                              1
                                                                                    1
                    F และหลอดเตือนไฟเลี้ยว ที่หน้าปัด PL (Pilot  Lamp) ลงดินครบวงจร ท าให้
                     1
                                                           1
                    หลอดไฟเลี้ยวและหลอดเตือนไฟเลี้ยวสว่างขึ้น
                    3. ในขณะเดียวกันเมื่อกระแสไฟฟ้าไหล ผ่านขดลวด L ท าให้แกนรีเลย์ที่ขดลวดพัน
                                                                       1
                    อยู่ เกิดอ านาจแม่เหล็ก จึงให้คอนแทค P แยกออก จากกัน หลอดไฟเลี้ยวทุกหลอดจึง
                    ดับ

                    4. ในเวลานั้นคอนเดนเซอร์ก็จะคายประจุ ไฟฟ้าออก ผ่านขดลวด L และ L ท าให้
                                                                                    2
                                                                                            1
                    ขดลวด ทั้งสองมีอ านาจแม่เหล็กในการดูดหน้าคอนแทค ให้เปิดค้าง หลอดไฟเลี้ยวทุก

                    หลอดยังคงดับ
                    5. เมื่อคอนเดนเซอร์คายประจุหมดแล้ว         p      จะเริ่มต่ออีกครั้งด้วยแรงสปริง

                    กระแสไฟฟ้าจะ ไหลผ่าน P ขดลวด L และ L ไปยังสวิตช์ไฟเลี้ยว และหลอดไฟเลี้ยว
                                                       1
                                                               2
                    หลอดไฟเลี้ยวจะติดขึ้นอีกครั้ง ในเวลาเดียวกันกระแสไฟฟ้าส่วนหนึ่งจะไหลผ่าน
                    ขดลวดเพื่อประจุ คอนเดนเซอร์กระแสไฟฟ้าจะ ไหลผ่านขดลวด L น้อยลง เมื่อ
                                                                                      2
                    คอนเดนเซอร์ ได้รับการประจุกระแสไฟฟ้าจนเต็ม แต่ขดลวด L ยังมีสนามแม่เหล็ก
                                                                                1
                    อยู่ จึงดูดให้ P แยกออกจากกัน อีกครั้ง หลอดไฟเลี้ยวทุกหลอดดับ
   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190