Page 33 - New โครงการ งานจักรยานยนต์
P. 33
30
2.6 กำรตรวจซ่อมเครื่องยนต์ 4 จังหวะ
2.6.1 เครื่องมือพิเศษ (SST = Special Tool Service)
เครื่องยนต์ 4 จังหวะ มีชิ้นส่วนมากกว่าเครื่องยนต์ 2 จังหวะ จึงมีส่วนประกอบที่
ต้องตรวจซ่อมเพิ่ม เช่น ระบบควบคุมลิ้นไอดีและลิ้นไอเสีย เพราะลิ้นได้รับผลกระทบจาก
การเปลี่ยนแปลงความร้อนที่เผาไหม้ไอดี ต้องมีระยะห่างลิ้นที่ไม่ท าให้ลิ้นยัน
นอกจากเรื่องลิ้นดังกล่าว ส่วนประกอบอื่นต้องสึกหรอตามอายุการใช้งานปกติ หาก
เกิดการขัดข้องหรือสึกหรอใด ๆ เพื่อความปลอดภัยในการใช้งานต้องตรวจซ่อม การตรวจ
ซ่อมบางอย่างจ าเป็นต้องใช้เครื่องมือพิเศษ
เครื่องมือพิเศษจะแตกต่างจากเครื่องมือโดยทั่วไป เป็นเครื่องมือที่ออกแบบมาจ า
เพราะจงกับการใช้งานเฉพาะอย่าง หน้าที่เครื่องมือพิเศษมีดังต่อไปนี้
1) เป็นเครื่องมือที่ใช้ถอดประกอบเครื่องยนต์ และใช้งานแตกต่างจากเครื่องทั่วไป
2) เลือกใช้เครื่องมือพิเศษ เมื่อใช้เครื่องมือทั่วไปอาจจะท าให้ชิ้นงานแตกหักหรือ
เสียหายได้
3) เลือกใช้เครื่องมือพิเศษ เพื่อให้เกิดความปลอดภัย ความถูกต้อง และต้องการความ
รวดเร็วมากกว่าเครื่องมือธรรมดา
2.6.2 กำรซ่อมส่วนประกอบฝำสูบเครื่องยนต์
1. กำรตรำวจเครื่องหมำยไทมิ่ง
ใช้ประแจกระบอกครอบนอตยึดล้อแม่เหล็กและหมุนเพลาข้อเหวี่ยงในลักษณะตาม
เข็มนาฬิกาจนกระทั่งลูกสูบขึ้นสูงสุด (ในต าแหน่งศูนย์ตายบน) สังเกตเครื่องหมายเฟืองลูก
เบี้ยว c จะตรงกับเครื่องหมายบนฝาสูบ d (จังหวะอัดสูบ)
2. กำรถอดโซ่เพลำลูกบี้ยว
1) คลายสกรู 1
2) ถอดชุดตึงโซ่และประเก็นชุดตึงโซ่ ถอดเฟืองลูกเบี้ยว 2 โซ่ 3
3) ใช้ลวดมัดชุดโซ่ไว้กับเสื้อสูบ เพื่อป้องกันโซ่ตกลงในห้องแคร้ง
3. กำรถอดนอตฝำสูบ
1) การคลายนอตฝาสูบให้คลายเรียงล าดับ 1-2-3-4-5
1
2) เริ่มต้นคลายนอตทุกตัวออก / รอบจนกระทั่งคลายออกทั้งหมด
2