Page 214 - งานจักรยานยนต์
P. 214
210
13.2 ระบบกันสะเทือนหน้ำจักรยำนยนต์
13.2.1 หน้าที่ส่วนประกอบระบบกันสะเทือนหน้า (Front Suspension System)
ขณะที่ขับขี่จักรยานยนต์บนพื น ส่วนหนึ่งจะถูกสลายโดยยาง ล้อ ตัวถังและเบาะ
นั่ง แต่แรงสั่นสะเทือนส่วนใหญ่จะถูกสลายโดยระบบกันสะเทือนที่ติดตั งอยู่กับตัวรถ
ถ้าไม่มีอะไรสลายแรงสั่นสะเทือน ผู้ขับขี่จะถูกกระแทกโดยตรงในขณะขับขี่ตก
หลุม ท้าให้เกิดความร้าคาญในการร้าคาญในการขับขี่บนถนนขรุขระ และเกิดความไม่
ราบรื่นในการขับขี่ นอกจากจะท้าให้ไม่มีความสบายในการขับขี่แล้ว ยังส่งผลเสียต่อการ
ทรงตัวและระบบการท้างานของจักรยายยนต์อีกด้วย
การป้องกันแรงสั่นสะเทือนนี จะท้าให้ประสิทธิภาพในกาขับขี่ดีขึ น โดยปกติใช้
สปริงขดและโช้คอัพ
1. หน้าที่สปริง
สปริงท้าหน้าที่สลายแรงสั่นสะเทือน ที่เกิดจากความไม่ราบเรียบของผิวถนน ไป
เป็นการสิ น สะเทือนน้อยลง รถแต่ละประเภทต้องการความแข็งสปริงในระดับที่ไม่
เท่ากัน ซึ่งสามารถเปลี่ยนสปริงได้ ตามค่าความแข็งสปริงให้เหมาะสม (อัตราส่วน
ระหว่างที่เพิ่มขึ นของสปริงต่อผลรวมการเปลี่ยนแปลง รูปสปริง)
2. หน้าที่โช้คอัพ
โช้คอัพท้าหน้าที่เปลี่ยนพลังงานชนิดใช้ความต้านทานการไหลของน ้ามันโช้คอัพ
โดยเปลี่ยน จากพลังงานศักย์ไปเป็นพลังงานความร้อนและน้าไปใช้งาน แรงสั่นสะเทือน
ของสปริงในแนวขึ นลงจะ ก้าจัดโดยความต้านทานการไหลของน ้ามันโช้คอัพ ท้าให้คลื่น
การสั่นสะเทือนลดลง