Page 7 - คณิตศาสตร์และสถิติเพื่องานอาชีพ
P. 7

3


                     1.2.2 การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม “หรือ”


                           ตัวเชื่อม "หรือ" แทนด้วย  “ v ”

                           ตัวอย่างที่ 1.2.2


                                        ให้    p     แทน    3  เป็นรากที่สองของ 9

                                                           2
                                               q     แทน    3  = 9
                                                                              2
                           ดังนั้น p V q แทน 3 เป็นรากที่สองของ 9 หรือ 3  = 9


                   1.2.3 การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม “ถ้า.....แล้ว.....”

                           ตัวเชื่อม “ถ้า...แล้ว” แทนด้วย “→ ”


                           ตัวอย่างที่ 1.3

                                                       3
                                        ให้   p   แทน  2   =  8
                                        q   แทน  2  เป็นรากที่สามของ 8


                                                      3
                           ดังนั้น   p → q  แทน ถ้า 2  = 8  แล้ว  2  เป็นรากที่สามของ 8


                   1.2.4 การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม “ก็ต่อเมือ...”


                           ตัวเชื่อม “ก็ต่อเมื่อ...” แทนด้วย “        "

                           ตัวอย่างที่ 1.4

                                       ให้    p    แทน       ∛-8   =   -2

                                                              3
                                              q    แทน       (-2)   =     -8

                                                                                  3
                           ดังนั้น p <-> q  แทน  ∛-8   =   -2   ก็ต่อเมื่อ  (-2)   =  -8

                   1.2.5 นิเสธของประพจน์

                        นิเสธของประพจน์ แทนด้วย  “ ~ "

                          p เป็นประพจน์ใด ๆ ดังนั้นนิเสธของ p แทนด้วย ~p (อ่านว่า not p)
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12