Page 82 - จราจร
P. 82

๗๕




                                     ผลดีของการจัดการจราจรเปนเสนทาง
                                     ๑)  ลดความลาชา (Delay) เวลาที่สูญเปลา จากการติดรอสัญญาณไฟ

                 และการเดินทางแบบออมไปมา โดยเปลี่ยนมาเปนการเดินทางแบบเสนตรง
                                     ๒)  เพิ่มความจุ (Capacity) ของถนนใหรับปริมาณจราจรจํานวนมากไดอยาง

                 ตอเนื่อง
                                     ¼ÅàÊÕ¢ͧ¡ÒèѴ¡ÒèÃÒ¨Ã໚¹àÊŒ¹·Ò§

                                     ๑)  ตองใชเจาหนาที่ตํารวจมากเพื่อประจําทางแยก จุดกลับรถ คอขวด เปนตน
                 ตลอดเสนทางเพื่อไมใหมีการติดขัด

                                     ๒)  ปริมาณรถจํานวนมากจะเดินทางเขาจากเมืองชั้นนอก หรือออกจากเมือง
                 ชั้นในอยางรวดเร็ว หากไมมีแผนหรือไมมีระบบการจัดการจราจรเมืองชั้นใน และชั้นนอกมารองรับ

                 จะเกิดการจราจรติดขัดในเมืองชั้นในเวลาเชา และติดขัดเมืองชั้นนอกเวลาเย็น
                                     ¢ŒÍÊѧà¡μ

                                     ๑)  การจัดการจราจรเปนเสนทาง เปนวิธีการจัดการจราจรโดยการบริหาร
                 ทรัพยากรที่มีจํากัดคือ ถนน และคน ใหเกิดประโยชนสูงสุดและใชงบประมาณนอยมาก หากเทียบกับ

                 การกอสรางถนน สะพาน เปนตน
                                     ๒)  การจัดการจราจรเปนเสนทาง มีสมมุติฐานที่วา คนคือเครื่องตรวจวัด

                 (Detector) ที่มีประสิทธิภาพที่สุด ในการตรวจวัดปญหาและแกไขปญหาไดอยางชาญฉลาด แตจะ

                 ตองหาวิธีใหคนจํานวนมากสามารถทํางานสัมพันธกันไดอยางเปนทีมเดียวกัน
                                     »˜¨¨ÑÂสํา¤ÑÞμ‹Í¤ÇÒÁสําàÃç¨
                                     การดําเนินการจัดการจราจรเปนเสนทางจะดําเนินการสําเร็จได จําเปนจะตอง

                 มีปจจัยสนับสนุนที่สําคัญในการดําเนินการดังนี้คือ

                                     ๑)  ภาวะผูนํา (Leadership) ของหัวหนาทีม ในการวางแผน สั่งการทุกสวน
                 ใหสัมพันธกันสามารถบริหารแบบเชิงรุก และทุกคนในเสนทางตองเปนทีมเดียวกัน
                                     ๒)  ผูบังคับบัญชาจะตองใหอํานาจเด็ดขาดเปนเอกภาพในการจัดการ ใหคุณ

                 ใหโทษสนับสนุนในเรื่อง งบประมาณ และคาตอบแทน

                                     ò.ñ.ó.ò    ¡ÒèѴ¡ÒèÃÒ¨Ã໚¹â¤Ã§¢‹Ò (Network Traffic Management)
                                                ความหมายการจัดการจราจรเปนโครงขาย หมายถึง การจัดการจราจรที่มอง

                 ภาพรวม ระดับที่ใหญที่สุดของเมือง โดยใชคนและเทคโนโลยีจัดการ (Management) ใหมีการเคลื่อนตัวของ
                 กระแสจราจรเปนเสนทางยาว (Route) หลายเสนทางประกอบกันโดยเฉพาะในถนนสายหลัก (Arterial Road)

                 ที่เปนเสนทางเขา-ออกเมือง (Inbound-Outbound) และเสนทางแนววงแหวนรอบเมืองใหสัมพันธกัน
                 ทั้งโครงขาย (Network) ของเมือง เพื่อใหการเดินทางมีประสิทธิภาพสูงสุด
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87