Page 83 - จราจร
P. 83

๗๖



                                  ÊÀÒ¾»˜ÞËÒ
                                  ๑)  การจัดการจราจรปจจุบัน ขึ้นอยูกับพื้นที่สถานีตํารวจจํานวนมาก แตยังไมมี

              การวางแผนจัดการจราจรบนโครงขายถนนที่เชื่อมตอกันใหสัมพันธกัน
                                  ๒)  การควบคุมสั่งการที่ศูนยควบคุมฯ ยังมีบทบาทนอยและขาดความเขาใจ
              เรื่องลําดับความสําคัญของถนนที่เปนถนนสายหลักกับถนนสายรอง จึงขาดการอํานวยการจราจร

              ที่เหมาะสม
                                  ๓)  การจัดการจราจรของเมือง ยังไมไดคํานึงถึงตนทางและจุดหมายปลายทาง
              ของผูเดินทาง ที่ตองการการจัดการในภาพรวมทั้งเมืองโดยเฉพาะ การเดินทางระหวางเขตยานธุรกิจ
              การคากลางใจเมือง (Central Business District: CBD) กับ ยานที่อยูอาคัย (Residential Area) ที่จะ

              ตองเชื่อมตอกัน  ซึ่งคํานึงถึงผลประโยชนภาพรวมของทั้งเมืองเปนหลัก


                                  ÇÔ¸Õ»¯ÔºÑμÔ

                                  ๑)  จัดการจราจรเปนทีมเวิรก (Team Work) เปนกลุมทํางานที่ประกอบขึ้นจาก
              เจาหนาที่หลายทางแยกในเสนทางทั้งหมด มีการจัดองคกร (Organization) ของกลุม โดยแบงแยกหนาที่กัน
              มีการประชุม วางแผน ระดับความคิด มีความรับผิดชอบและแกไขปญหารวมกันโดยทั้งกลุมจะมีการ
              ตกลงใจและมีความเขาใจที่ชัดเจนในเรื่อง

                                  -   เปาหมายของกลุม
                                  -   วิธีการทํางานของทุกคนในกลุมเพื่อไปสูเปาหมาย
                                  ๒)  มีการสํารวจวางแผน โดยใชขอมูล เชน ถนน ทางแยก ระยะทาง ความเร็วเฉลี่ย

              จุดกอปญหาจราจร (Traffic Conflict Point)
                                  ๓)  จัดการควบคุมสัญญาณไฟแบบเหลื่อมเวลา (Offset) รับปริมาณจราจรแตละ
              ทางแยกที่สัมพันธกัน โดยการคํานวณหรือทดลองขับขี่บนเสนทาง

                                  ๔)  จัดกําลังเจาหนาที่ตํารวจเปนสายตรวจ และกําลังประจําจุดในเสนทาง ไดแก
              จุดกลับรถ ทางมาลาย คอขวด ปากซอย จุดกอปญหาจราจร เปนตน โดยสัมพันธกับทางแยกและทุก
              ชุดทํางานประสานกัน

                                  ๕)  จัดการในเรื่อง งบประมาณ วัสดุอุปกรณ การพักผอน การออกกําลังกาย
              การใหรางวัล การบํารุงขวัญ โดยมีผูรับผิดชอบ ใหผูปฏิบัติไดรับการสนับสนุนครบเปนชุดทั้งหมด
              (Package)
                                  ๖)  จัดการจราจรแบบสลับชองทางเดินรถ (Reversible Lane) บริเวณที่เหมาะสม

                                  ๗)  ควบคุมเวลาตอบสนอง (Response Time) ในการเดินทางไปยังที่เกิดเหตุ
              หรือจุดที่เกิดปญหาจราจร
                                  ๘)  มีระบบการควบคุมสั่งการ และประสานงานจากศูนยควบคุมการจราจร (Traffic

              Control Center) เพื่อใหขอมูลของกระแสการจราจร ปญหาจราจร การกํากับดูแล และตรวจสอบ
              การปฏิบัติงานโดยมีผูบริหารระดับสูงประจําที่ศูนยควบคุมฯ
                                  ๙)  ทําการประชาสัมพันธใหขอมูลการเดินทางแกประชาชนตลอดเวลา
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88