Page 110 - e-Book Cold Chain
P. 110

103

                           5.1.3) ประโยชน์ของการโซ่ความเย็น จ าแนกได้ 2 วัตถุประสงค์หลัก คือ

                                  1) การลดความสูญเสีย/รักษาคุณภาพของผลผลิต โดยเกี่ยวข้องกับสินค้าต่างๆ เช่น ทุเรียน

                  ผลสด ขนุน มะม่วง เงาะ มังคุดสับปะรด เห็ด และผักใบ ทั้งนี้ นับตั้งแต่การรวบรวมผลผลิตจนถึงการขนส่ง
                  สินค้าไปยังปลายทาง สถาบันเกษตรกรมีอตราความสูญเสียของผลผลิตอยู่ระหว่างร้อยละ 3–4โดยสินค้ากลุ่ม
                                                     ั
                                                                                              ั
                          ั
                  ผลไม้ มีอตราความสูญเสียร้อยละ 3ของปริมาณผลไม้ที่รวบรวมได้ทั้งหมด สินค้ากลุ่มผักมีอตราความสูญเสีย
                  ร้อยละ 4ของปริมาณผักที่รวบรวมได้ทั้งหมด ซึ่งการสูญเสียดังกล่าวมาจากการสูญเสียน้ าหนักตามธรรมชาติ
                  รวมถึงความสูญเสียจากการรวบรวมผลผลิตจากกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การคัดเกรด การบรรจุ การเคลื่อนย้าย

                  ภายในศูนย์รวบรวม
                                                   ิ่
                                  2) การสร้างมูลค่าเพมให้แก่ผลผลิต โดยเกี่ยวข้องกับทุเรียนแกะเนื้อแช่เย็น/แช่แข็ง และ
                  มะม่วง ทั้งนี้ ได้วิเคราะห์ข้อมูลจากสถาบันเกษตรกร 2 แห่ง ที่มีการใช้ประโยชน์ห้องเย็นในการแปรรูปผลผลิต
                                                                                     ิ่
                  ทุเรียนผลสดเป็นทุเรียนแกะเนื้อแช่เย็น/แช่แข็ง ซึ่งคณะผู้ศึกษาได้ค านวณมูลค่าเพมของทุเรียนแกะเนื้อแช่เย็น/
                  แช่แข็ง ตามแนวคิดการค านวณผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศด้วยวิธีค านวณด้านผลผลิต (มูลค่าเพิ่มเท่ากับ

                  มูลค่าผลผลิตแต่ละขั้นตอนหักด้วยมูลค่าสินค้าขั้นกลาง) ผลการศึกษา พบว่า สถาบันเกษตรกรสามารถใช้ระบบ
                  โซ่ความเย็นในการแปรรูปเพอสร้างมูลค่าเพมให้กับทุเรียนที่คุณภาพไม่ผ่านเกณฑ์การส่งออกได้ถึงร้อยละ 25
                                                      ิ่
                                          ื่
                  ของราคารับซื้อทุเรียนผลสด

                           5.1.4) ศักยภาพความพร้อมในการบริหารจัดการระบบโซ่ความเย็นของสถาบันเกษตรกรในพื้นที่ EEC
                  (จังหวดชลบุรี ฉะเชิงเทราและระยอง) สามารถรองรับความเชื่อมโยงไปสู่เป้าหมายตามนโยบายการพฒนาพื้นที่
                        ั
                                                                                                    ั
                                   ื้
                  EEC คือ การพัฒนาพนที่เกษตรกรรมให้เป็นพนที่ที่มีศกยภาพเป็นแหล่งวัตถุดิบ สู่อุตสาหกรรมชีวภาพและการผลิต
                                                             ั
                                                      ื้
                                      ุ
                  ยา และพฒนาต่อยอดสู่อตสาหกรรมแปรรูป โดยให้จังหวัดฉะเชิงเทราเป็นศูนย์รวบรวม และกระจายผลผลิตเกษตร
                          ั
                                         ื้
                                                                                    ื้
                  ของสถาบันเกษตรกรไปยังพนที่ EEC เนื่องจากที่มีความพร้อมในเรื่องโครงสร้างพนฐานโซ่ความเย็น โดยสถาบัน
                  เกษตรกรจังหวัดชลบุรีและระยอง ร่วมเป็นเครือข่ายการผลิตและการตลาด นอกจากนี้ การด าเนินการของสถาบัน
                  เกษตรกรในพนที่ EEC โดยใช้ระบบโซ่ความเย็นในการบริหารจัดการสินค้าเกษตร ถือได้ว่า มีความสอดคล้องและ
                             ื้
                                                                  ั
                                                                        ิ
                  สนับสนุนการด าเนินการทั้งแผนภาพรวมเพอการพฒนาเขตพฒนาพเศษภาคตะวันออก ปี 2560–2564 ซึ่งรวบรวม
                                                    ื่
                                                          ั
                                                                                                     ั
                                                                                               ื่
                                  ั
                  โดยส านักงานสภาพฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) และตามแผนการด าเนินงานเพอการพฒนาพนที่
                                                                                                          ื้
                            ิ
                                                                                        ุ
                                                                                   ั
                  เขตพัฒนาพเศษภาคตะวันออก(EEC) ที่เกี่ยวข้องกับ กษ. ปี 2560–2564ด้านการพฒนาอตสาหกรรมแปรรูปอาหาร
                  และแผนพัฒนาส่งเสริมการท่องเที่ยวของหน่วยงานต่าง ๆ
                           5.1.5) ปัญหาในการใช้โซ่ความเย็นของสถาบันเกษตรกร
                                                                                                      ุ
                                                                                            ื้
                                  1) ด้านโครงสร้างพนฐาน ได้แก่ สถาบันเกษตรกรบางแห่งมีโครงสร้างพนฐานและอปกรณ์ที่
                                                 ื้
                  เกี่ยวข้องกับระบบการจัดการโซ่ความเย็นที่ยังไม่ได้มาตรฐาน รวมถึงการใช้ประโยชน์ห้องเย็นของสถาบัน
                  เกษตรกร ยังไม่เต็มศักยภาพ และประสบปัญหาระบบไฟฟาที่ไม่มีเสถียรภาพ รวมทั้งต้นทุนและค่าบ ารุงรักษา
                                                                  ้
                  ระบบโซ่ความเย็นมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนปัญหาข้อจ ากัดเรื่องผังเมืองที่ก าหนดพนที่สีเขียว
                                                                                                    ื้
                  (ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม)







                                                                    ิ
                                                                      ้
                                                                                                              ้
            โครงการศกษาการจัดท าแนวทางการพัฒนาเพื่อการบรหารจัดการโซความเย็น (Cold Chain) ในสนคาพืชผักและผลไมของสถาบันเกษตรกรในพ้นที่ EEC และจังหวัดใกลเคียง
                                                                                ้
                                           ิ
                  ึ
                                                   ่
                                                                                               ื
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115