Page 105 - e-Book Cold Chain
P. 105
98
แกะเนื้อแช่เย็น/แช่แข็ง โดยน ามูลค่าของผลผลิตทุเรียนเนื้อแช่เย็น/แช่แข็งต่อหน่วย หักด้วยมูลค่าผลผลิตทุเรียนผล
ื่
ิ่
สดต่อหน่วย ผลการค านวณพบว่า สถาบันเกษตรกรสามารถใช้ระบบโซ่ความเย็นในการแปรรูปเพอสร้างมูลค่าเพม
ให้กับผลผลิตทุเรียนที่คุณภาพไม่ผ่านเกณฑ์การส่งออก ได้ถึงร้อยละ 25 หรือกล่าวได้ว่าการจ าหน่ายทุเรียนแกะเนื้อ
แช่เย็น/แช่แข็ง ของสถาบันเกษตรกรทั้ง 2 แห่ง ให้ผลตอบแทนสูงกว่าการจ าหน่ายในรูปทุเรียนผลสด 25 เท่า จึงถือ
ได้ว่า ระบบโซ่ความเย็นเป็นเครื่องมือที่ส าคัญในการสร้างมูลค่าเพิ่มในโซ่อุปทานให้แก่สินค้าทุเรียนภาคตะวันออก
ดังนั้นจากผลการวิเคราะห์ประโยชน์ของระบบโซ่ความเย็นในทั้ง 2 วัตถุประสงค์ ชี้ให้เห็นว่า การ
ิ่
ส่งเสริมให้สถาบันเกษตรกรใช้ระบบโซ่ความเย็น เพื่อรักษาคุณภาพผลผลิตควบคู่ไปกับการสร้างมูลค่าเพมให้แก่
ิ่
ผลผลิต จะส่งผลให้สถาบันเกษตรกรมีรายได้เพมมากขึ้น มีความเข้มแข็ง เป็นหลักประกันทางการตลาดให้แก่
เกษตรกรสมาชิก รวมถึงเป็นตัวอย่างของการขยายผลไปสู่การบริหารจัดการผลผลิตสินค้าเกษตรประเภทอื่น ๆ
ต่อไป
4.7 ข้อคิดเห็นในการใช้โซ่ความเย็นของสถาบันเกษตรกร
จากการสัมภาษณ์สถาบันเกษตรกรเกี่ยวกับความสนใจในการน าระบบโซ่ความเย็นมาใช้ พบว่า
กลุ่มสถาบันเกษตรกรผู้รวบรวมผลไม้มีความสนใจ ร้อยละ 53 ไม่สนใจ ร้อยละ 47 ในขณะที่กลุ่มสถาบัน
เกษตรกรผู้รวบรวมผัก มีความสนใจ ร้อยละ 71 ไม่สนใจ ร้อยละ 29 เฉลี่ยทั้งสองกลุ่ม ให้ความสนใจ ร้อยละ
58 ไม่สนใจ ร้อยละ 42 ทั้งนี้ รายละเอียดแสดงได้ดังตารางที่ 4-10
ตารางที่ 4-10 แสดงสัดส่วนทัศนคติของสถาบันเกษตรกรเกี่ยวกับความสนใจในการน าระบบ
โซ่ความเย็นมาใช้
กลุ่มสินค้า สนใจ (ร้อยละ) ไม่สนใจ (ร้อยละ)
ผลไม้ 53 47
ผัก 71 29
ภาพรวม 58 42
ที่มา : จากการส ารวจ
ทั้งนี้ ในกลุ่มของเกษตรกรที่ไม่สนใจที่จะน าระบบโซ่ความเย็นมาใช้ ให้เหตุผลหลายประการ
โดยสาเหตุที่ไม่สนใจ 3 อนดับแรกของกลุ่มผลไม้ ได้แก่ การลงทุนสูง ร้อยละ 45 ลูกค้ามีการลงทุนแล้ว
ั
้
ื่
ั
ร้อยละ 22 ปริมาณผลผลิตน้อย ค่าไฟฟาสูง และอน ๆ ร้อยละ 11 เท่ากันทั้ง 3 สาเหตุ ส่วน 3 อนดับแรกของ
้
กลุ่มผัก ได้แก่ ลงทุนสูง ร้อยละ 50 ขาดความรู้/ความเข้าใจ และค่าไฟฟาสูง ร้อยละ 25 เท่ากัน
ทั้ง 2 สาเหตุ ดังตารางที่ 4-11
ึ
้
โครงการศกษาการจัดท าแนวทางการพัฒนาเพื่อการบรหารจัดการโซความเย็น (Cold Chain) ในสนคาพืชผักและผลไมของสถาบันเกษตรกรในพ้นที่ EEC และจังหวัดใกลเคียง
ิ
ิ
่
้
ื
้