Page 102 - e-Book Cold Chain
P. 102

95

                   4.4 ต้นทุนการบริหารจัดการโซ่ความเย็นในสินค้าแต่ละประเภท

                             จากหัวข้อ 4.3 ที่ได้น าเสนอรูปแบบการจัดการโซ่ความเย็นในสินค้าประเภทต่าง ๆ ของสถาบัน

                  เกษตรกร หัวข้อนี้ผู้ศึกษาจึงได้วิเคราะห์ต้นทุนการบริหารจัดการโซ่ความเย็นในสินค้าที่มีการจัดการโซ่ความ
                          ุ
                                       ุ
                  เย็น ณ อณหภูมิต่ ากว่าอณหภูมิแวดล้อม (ต่ ากว่า 25 องศาเซลเซียส) โดยมีสินค้าที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย
                  ทุเรียนแกะเนื้อแช่เย็น/แช่แข็ง มะม่วง เงาะ และมังคุด
                             ส าหรับผลการวิเคราะห์ต้นทุนฯ พบว่า ทุเรียนแช่เย็น/แช่แข็ง เป็นสินค้าที่สถาบันเกษตรกรมี

                  ต้นทุนในการจัดการโซ่ความเย็นสูงสุด คือ ร้อยละ 3.22 ของรายได้จากการจ าหน่ายผลผลิตทุเรียนแปรรูปต่อปี

                  รองลงมาคือ เงาะ ที่มีต้นทุนการจัดการโซ่ความเย็นร้อยละ 2 ของรายได้จากการจ าหน่ายเงาะผลสดต่อปี และ
                  ถัดไปคือ มังคุดร้อยละ 1.55 ของรายได้จากการจ าหน่ายมังคุดผลสดต่อปี ส าหรับมะม่วง คือ ร้อยละ 0.1 ของ

                  รายได้จากการจ าหน่ายมะม่วงผลสดต่อปี
                             ทั้งนี้ รายละเอียดการวิเคราะห์ แยกเป็นรายสินค้า 4 สินค้า ดังนี้

                             1) ทุเรียนแกะเนื้อแช่เย็น/แช่แข็ง (จากการสัมภาษณ์สถาบันเกษตรกร 2 แห่ง)

                                ในการจัดการผลผลิตทุเรียนแกะเนื้อแช่เย็น/แช่แข็ง ส าหรับส่งออก สถาบันเกษตรกร
                  มีการใช้ประโยชน์โซ่ความเย็นในการรวบรวมผลผลิต การสร้างมูลค่าเพมผลผลิตด้วยการแปรรูป โดยมีวิธีการ
                                                                             ิ่
                                                  ุ
                  จัดการโซ่ความเย็นตามอณหภูมิ ณ อณหภูมิแช่เย็น/แช่แข็ง ซึ่งมีการใช้ทรัพยากรหลัก คือ ห้องเย็น ท าให้
                                       ุ
                  มีต้นทุน คือ ค่าไฟฟาในการใช้ห้องเย็นเฉลี่ย 7.65 ล้านบาท/ปี ในขณะที่มีรายได้จากการจ าหน่ายทุเรียนแกะ
                                   ้
                  เนื้อเฉลี่ย ประมาณ 237.5 ล้านบาท/ปี ทั้งนี้ หากพิจารณาต้นทุนการจัดการโซ่ความเย็นเปรียบเทียบกับรายได้

                  จากการแปรรูปผลผลิต พบว่า ต้นทุนในการจัดการโซ่ความเย็น คิดเป็นร้อยละ 3.22 ของรายได้จากการแปรรูป

                  ผลผลิตทุเรียนต่อปี
                             2) เงาะ (จากการสัมภาษณ์สถาบันเกษตรกร 1 แห่ง)

                                สถาบันเกษตรกรมีการบริหารจัดการโซ่ความเย็น ณ จุดรวบรวม ในลักษณะของการ
                                                                                                  ุ
                  ลดอณหภูมิให้กับผลผลิตด้วยน้ าและน้ าแข็ง (Hydro Cooling) โดยมีการใช้ทรัพยากร/วัสดุ/อปกรณ์ต่าง ๆ
                      ุ
                  ได้แก่ น้ าประปา น้ าแข็ง และฟองน้ าซึ่งมีต้นทุนจากทรัพยากร/วัสดุ/อปกรณ์ต่าง ๆ ประกอบด้วย
                                                                                   ุ
                  ค่าน้ าประปา 12,000 บาท/ปี ค่าน้ าแข็ง 400,000 บาท/ปี และค่าฟองน้ า 250,000 บาท/ปี ในขณะที่
                  มีรายได้จากการรวบรวมผลผลิตเงาะ ประมาณ 32,000,000 บาท/ปี ทั้งนี้ หากพจารณาต้นทุนการจัดการ
                                                                                       ิ
                  โซ่ความเย็นเปรียบเทียบกับรายได้จากการรวบรวมผลผลิต พบว่า ต้นทุนในการจัดการโซ่ความเย็น คิดเป็น
                  ร้อยละ 2 ของรายได้จากการรวบรวมผลผลิตเงาะต่อปี


                             3) มังคุด (จากการสัมภาษณ์สถาบันเกษตรกร 3 แห่ง)
                                                             ื่
                                ในการจัดการผลผลิตมังคุดเพอการส่งออก สถาบันเกษตรกรมีการใช้ประโยชน์
                                                                                           ุ
                  โซ่ความเย็นในการรวบรวมผลผลิต (กิจกรรมการบรรจุ/การเก็บรักษา) ด้วยการลดอณหภูมิให้กับผลผลิต
                  โดยใช้น้ าและน้ าแข็ง (Hydro Cooling) ซึ่งมีการใช้ทรัพยากร/วัสดุ/อปกรณ์ต่าง ๆ ได้แก่ น้ า น้ าแข็ง และ
                                                                             ุ
                  ฟองน้ าท าให้สถาบันเกษตรกรทั้ง 3 แห่ง มีต้นทุนประกอบด้วย ค่าน้ าบรรจุขวดเฉลี่ย 22,500 บาท/ปี








                                                                                                              ้
                                                                                               ื
                                                                                ้
                                                   ่
                                           ิ
                  ึ
                                                                      ้
                                                                    ิ
            โครงการศกษาการจัดท าแนวทางการพัฒนาเพื่อการบรหารจัดการโซความเย็น (Cold Chain) ในสนคาพืชผักและผลไมของสถาบันเกษตรกรในพ้นที่ EEC และจังหวัดใกลเคียง
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107