Page 103 - e-Book Cold Chain
P. 103

96

                  ค่าน้ าแข็งเฉลี่ย 1,500 บาท/ปี และค่าฟองน้ า เฉลี่ย 100,000 บาท/ปี ในขณะที่มีรายได้จากการรวบรวม

                  ผลผลิตมังคุดเฉลี่ย 8,000,000 บาท/ปี ทั้งนี้ หากพิจารณาต้นทุนการจัดการโซ่ความเย็นเปรียบเทียบกับรายได้

                  จากการรวบรวมผลผลิต พบว่า ต้นทุนในการจัดการโซ่ความเย็น คิดเป็นร้อยละ 1.55 ของรายได้จากการ
                  รวบรวมผลผลิตมังคุดต่อปี


                             4) มะม่วง (จากการสัมภาษณ์สถาบันเกษตรกร 3 แห่ง)
                                                               ื่
                                  ในการจัดการผลผลิตมะม่วงเพอการส่งออก สถาบันเกษตรกรมีการใช้ประโยชน์
                                                                      ื่
                  โซ่ความเย็นในการเก็บรักษาในห้องเย็น (Cold Storage) เพอรอการขนส่งซึ่งมีการใช้ทรัพยากรหลัก คือ
                  ห้องเย็น ท าให้มีต้นทุน คือ ค่าไฟฟาในการใช้ห้องเย็นเฉลี่ย ประมาณ 112,000 บาท/ปี ในขณะที่มีรายได้จาก
                                               ้
                                                                ิ
                  การจ าหน่ายมะม่วงเฉลี่ย 155 ล้านบาท/ปี ทั้งนี้ หากพจารณาต้นทุนการจัดการโซ่ความเย็นเปรียบเทียบกับ
                  รายได้จากการจ าหน่ายมะม่วง พบว่า ต้นทุนในการจัดการโซ่ความเย็น คิดเป็นร้อยละ 0.10 ของรายได้จากการ
                  จ าหน่ายมะม่วงต่อปี


                     4.5 ศักยภาพความพร้อมของพื้นที่ EEC (จังหวัดชลบุรี ฉะเชิงเทรา และระยอง) ในการบริหารจัดการ

                         ระบบโซ่ความเย็นสินค้าเกษตร

                            ผลการศึกษาในส่วนนี้ เป็นการวิเคราะห์ให้เห็นความเชื่อมโยงระหว่างนโยบายการพัฒนาพื้นที่ EEC

                  กับศักยภาพในการใช้ประโยชน์จากโครงสร้างพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับโซ่ความเย็นสินค้าเกษตร โดยพิจารณาจาก

                                       ั
                                            ื้
                  เป้าหมายส าคัญในการพฒนาพนที่ EEC คือ การพฒนาพนที่เกษตรกรรมให้เป็นพนที่ที่มีศักยภาพในการเป็น
                                                                                      ื้
                                                            ั
                                                                  ื้
                                                                                    ุ
                                                                      ั
                                ุ
                  แหล่งวัตถุดิบสู่อตสาหกรรมชีวภาพและการผลิตยา และการพฒนาต่อยอดสู่อตสาหกรรมแปรรูป ซึ่งการจะ
                  ด าเนินการให้บรรลุเป้าหมายเพอพฒนาให้จังหวัดหนึ่งจังหวัดใดในพนที่ EEC เป็นศูนย์กลางรวบรวมและ
                                             ื่
                                                ั
                                                                             ื้
                  กระจายสินค้าเกษตร จ าเป็นต้องให้ความส าคัญใน 3 เรื่องส าคัญ ดังนี้ (1) ควรเป็นแหล่งผลิตสินค้าเกษตรที่
                                                                                                      ื้
                                                               ื้

                  ส าคัญของประเทศ  (2) มีความพร้อมเรื่องโครงสร้างพนฐานหรือสิ่งอานวยความสะดวกการตลาดที่เออในการ
                  ท าธุรกิจรวบรวมและกระจายสินค้า และ (3) มีเครือข่ายเชื่อมโยงการผลิตและการตลาด ควบคู่ไปกับข้อมูลผล
                  การศึกษาที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างพนฐานและสิ่งอานวยความสะดวกโซ่ความเย็น และรูปแบบการบริหาร

                                                 ื้
                  จัดการโซ่ความเย็นรายสินค้าของสถาบันเกษตรกรในจังหวัดชลบุรี ฉะเชิงเทรา และระยอง รวม 14 แห่ง (จาก
                  ที่ศึกษาทั้งหมด 24 แห่ง ใน 5 จังหวัด คือ ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ระยอง จันทบุรี และตราด) โดยเฉพาะเมื่อ
                  พิจารณาประโยชน์สูงสุดที่จะได้รับจากการใช้ระบบโซ่ความเย็นที่มีอยู่แล้วของทั้ง 3 จังหวัดในพื้นที่ EEC พบว่า
                                1) จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นจังหวัดที่สถาบันเกษตรกร (รวม 6 แห่ง) สามารถรวมตัวเป็น

                  เครือข่ายในการรวบรวมสินค้าเกษตรจากทั้งในพนที่และบริเวณใกล้เคียงและกระจายขนส่งสินค้าเกษตร ไปสู่
                                                          ื้
                  พื้นที่ต่าง ๆ ภายในประเทศและต่างประเทศได้ โดยใช้สถาบันเกษตรกรที่มีการบริหารจัดการระบบโซ่ความเย็น
                  ที่มีอยู่แล้ว (รวม 4 แห่ง) เป็นฐานในการด าเนินธุรกิจ เนื่องจากมีอาคารรวบรวมสินค้าเกษตรที่ได้มาตรฐาน

                                                                       ื่
                  GMP และมีอาคารห้องเย็นที่สามารถแช่เย็นและแช่แข็งผลไม้ เพอเก็บรักษาผลผลิต/ชะลอผลผลิตออกสู่ตลาด








                  ึ
                                                                                                              ้
            โครงการศกษาการจัดท าแนวทางการพัฒนาเพื่อการบรหารจัดการโซความเย็น (Cold Chain) ในสนคาพืชผักและผลไมของสถาบันเกษตรกรในพ้นที่ EEC และจังหวัดใกลเคียง
                                                                                               ื
                                           ิ
                                                   ่
                                                                    ิ
                                                                                ้
                                                                      ้
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108