Page 104 - e-Book Cold Chain
P. 104
97
ื่
ี
และเพอการแปรรูป (ซึ่งปัจจุบันผลผลิตไม่เพยงพอต่อความต้องการของตลาด) รวมทั้งมีรถห้องเย็น สถาบัน
เกษตรกรเหล่านี้ สามารถร่วมกันใช้ประโยชน์โซ่ความเย็นสินค้าเกษตรให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดได้ ขณะที่
ี
สถาบันเกษตรกรทั้งสองจังหวัด คือ จังหวัดชลบุรีและระยอง (รวม 8 แห่ง) มีเพยงแต่จุดรวบรวมผลผลิตที่ได้
ั
มาตรฐาน GMP (รวม 3 แห่งจาก 8 แห่ง) สามารถพฒนาร่วมเป็นเครือข่ายการผลิตและการตลาดกับจังหวัด
ฉะเชิงเทราได้
ื้
2) ส าหรับการด าเนินการของสถาบันเกษตรกรในพนที่ EEC โดยใช้ระบบโซ่ความเย็น
ในการบริหารจัดการสินค้าเกษตร ถือได้ว่า มีความสอดคล้องและสนับสนุนการด าเนินการทั้งแผนภาพรวมเพื่อ
ิ
ั
ั
ั
การพฒนาเขตพฒนาพเศษภาคตะวันออก ปี 2560-2564 ซึ่งรวบรวมโดยส านักงานสภาพฒนาการเศรษฐกิจ
ิ
และสังคมแห่งชาติ (สศช.) และตามแผนการด าเนินงานเพอการพฒนาพนที่เขตพฒนาพเศษภาคตะวันออก
ั
ื่
ั
ื้
ั
ั
ุ
(EEC) ที่เกี่ยวข้องกับ กษ. ปี 2560-2564 ด้านการพฒนาอตสาหกรรมแปรรูปอาหารและแผนพฒนาส่งเสริม
การท่องเที่ยวของหน่วยงานต่าง ๆ
4.6 ประโยชน์ของระบบโซ่ความเย็นที่มีต่อการบริหารจัดการผลผลิตของสถาบันเกษตรกร
จากการสัมภาษณ์สถาบันเกษตรกรทั้ง 24 แห่ง พบว่า สถาบันเกษตรกรทั้ง 24 แห่ง มีการใช้ประโยชน์
ระบบโซ่ความเย็นในวัตถุประสงค์และรูปแบบที่แตกต่างกันซึ่งในส่วนของวัตถุประสงค์ในการใช้ประโยชน์ระบบ
โซ่ความเย็น สามารถจ าแนกได้ 2 วัตถุประสงค์หลัก คือ
1) การลดความสูญเสีย/รักษาคุณภาพของผลผลิต โดยเกี่ยวข้องกับสินค้าต่าง ๆ เช่น ทุเรียนผลสด
ขนุน มะม่วง เงาะ มังคุด เห็ด และผักใบ ทั้งนี้จากการสอบถามสถาบันเกษตรกร ทั้ง 24 แห่ง ถึงอตราความ
ั
สูญเสียของผลผลิต นับตั้งแต่การรวบรวมผลผลิตจนถึงการขนส่งสินค้าไปยังปลายทาง พบว่า สถาบันเกษตรกร
มีอัตราความสูญเสียของผลผลิตอยู่ระหว่างร้อยละ 3-4 โดยสินค้ากลุ่มผลไม้ มีอัตราความสูญเสียร้อยละ 3 ของ
ั
ปริมาณผลผลิตที่รวบรวมได้ สินค้ากลุ่มผัก มีอตราความสูญเสีย ร้อยละ 4 ของปริมาณผลผลิตที่รวบรวมได้ ซึ่ง
ความสูญเสียดังกล่าวมาจากการสูญเสียน้ าหนักตามธรรมชาติ รวมถึงความสูญเสียจากการรวบรวมผลผลิตจาก
ั
กิจกรรมต่าง ๆ เช่น การคัดเกรด การบรรจุ การเคลื่อนย้ายภายในศูนย์รวบรวม ทั้งนี้ จากข้อมูลอตราความ
สูญเสียดังกล่าวถือได้ว่าเป็นอตราความสูญเสียที่ไม่สูง แสดงให้เห็นว่าการใช้ระบบโซ่ความเย็นสามารถช่วยลด
ั
การสูญเสียให้กับผลผลิตของสถาบันเกษตรกรได้ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ทางด้านการตลาดแก่สินค้าผักและผลไม้
ของสถาบันเกษตรกรในภาคตะวันออก
ี
2) การสร้างมูลค่าเพมให้แก่ผลผลิต โดยเกี่ยวข้องกับสินค้าเพยงชนิดเดียว คือ ทุเรียนแกะเนื้อแช่เย็น/
ิ่
ู
แช่แข็ง ซึ่งผู้ศึกษาได้ค านวณมลค่าเพมจากการแปรรูปผลผลิตของสถาบันเกษตรกร 2 แห่ง ที่มีการใช้ประโยชน์
ิ่
ห้องเย็นในการแปรรูปผลผลิตทุเรียนผลสดเป็นทุเรียนแกะเนื้อแช่เย็น/แช่แข็ง โดยเป็นการค านวณมูลค่าเพมของ
ิ่
็
์
ทุเรียนแกะเนื้อแช่เย็น/แช่แขง ตามแนวคิด การคานวณผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศด้วยวิธีค านวณด้าน
ิ่
ผลผลิต (มูลค่าเพมเท่ากับมูลค่าผลผลิตแต่ละขั้นตอนหักด้วยมูลค่าสินค้าขั้นกลาง) หรือกล่าวได้ว่า มูลค่าเพมของ
ิ่
ผลผลิต (Value Added) คือ มูลค่าของทุเรียนผลสด ซึ่งเมื่อถูกน ามาแปรรูปเป็นทุเรียนแกะเนื้อแช่เย็น/แช่แข็ง
ิ่
ิ่
จ าหน่ายแล้ว มีมูลค่าเพมขึ้นจากการจ าหน่ายในรูปทุเรียนผลสด ดังนั้น จึงได้ค านวณมูลค่าเพมของผลผลิตทุเรียน
้
โครงการศกษาการจัดท าแนวทางการพัฒนาเพื่อการบรหารจัดการโซความเย็น (Cold Chain) ในสนคาพืชผักและผลไมของสถาบันเกษตรกรในพ้นที่ EEC และจังหวัดใกลเคียง
ื
่
ิ
้
ึ
ิ
้