Page 112 - e-Book Cold Chain
P. 112
105
9) ส่งเสริมและสนับสนุนทุนวิจัยเพอการพฒนาระบบโซ่ความเย็น รวมทั้งส่งเสริมและ
ั
ื่
สนับสนุนการน างานวิจัยไปใช้อย่างเป็นรูปธรรม
5.2.2 เกษตรกร สถาบันเกษตรกร และผู้ประกอบการ
1) ตระหนักและให้ความส าคัญในผลิตสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐานความปลอดภัย เริ่มจาก
มาตรฐาน GAP หรือมาตรฐานอนทรีย์ หรือมาตรฐาน GMP หรือมาตรฐานต่างๆ ควบคู่ไปกับสร้างเครือข่าย
ิ
และพัฒนากลุ่มเกษตรกรของตนเองให้เข้มแข็ง
2) ตระหนักและให้ความส าคัญในการน าระบบโซ่ความเย็น มาใช้ในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ
การเก็บเกี่ยว การเก็บรักษา และการขนส่ง รวมทั้งการจ าหน่ายสินค้าของตนเองให้มากขึ้น
3) สถาบันเกษตรกรและผู้ประกอบการที่มีความพร้อมในเรื่องห้องเย็นและรถห้องเย็น ควร
ื
สร้างความร่วมมอในการวางแผนการใช้งานห้องเย็นและรถห้องเย็นให้มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยร่วมกับสถาบัน
ิ่
ื่
เกษตรกรที่ไม่มีความพร้อมในเรื่องห้องเย็นและรถห้องเย็น เพอลดต้นทุนโลจิสติกส์และเพมประสิทธิภาพการ
จัดการโซ่ความเย็นสินค้าเกษตรเพิ่มขึ้นร่วมกัน
ิ่
ื่
ั
4) ให้ความส าคัญในการพฒนาโซ่คุณค่าสินค้าเกษตรเพมขึ้น เพอเกษตรกร/สถาบันเกษตรกร
จะได้รับผลตอบแทนหรือก าไรเพมขึ้น ซึ่งการเพมโซ่คุณค่าอย่างง่าย ๆ เช่น การคดเกรดคุณภาพและจ าหน่าย
ั
ิ่
ิ่
ผลผลิตตามชั้นคุณภาพสินค้าการแปรรูปผลผลิตให้มีความหลากหลาย การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสม หรือการ
เลือกใช้บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการใช้ระบบติดตามสถานการณ์ขนส่ง และการตรวจสอบ
ย้อนกลับ เป็นต้น
้
5.3 กรอบแนวทางการพัฒนาเพื่อการบริหารจัดการโซ่ความเย็น ในสินค้าผักและผลไมของ
สถาบันเกษตรกร
ี
ตามที่คณะผู้ศึกษาได้กล่าวถึงรายละเอยดผลการศึกษามาเป็นล าดับ เพอน าไปสู่การขับเคลื่อนให้
ื่
ั
ื่
เห็นเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน คณะผู้ศึกษาขอเสนอกรอบแนวทางการพฒนาเพอการบริหารจัดการโซ่ความเย็นใน
สินค้าเกษตร เพอให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะหน่วยงาน กษ. น าไปพจารณาจัดท าแผนงาน/โครงการ/
ิ
ื่
ื่
กิจกรรม เพอแก้ไขปัญหาด้านการบริหารจัดการโซ่ความเย็นของเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรต่อไป โดยมี
รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 5–1
ึ
ื
้
โครงการศกษาการจัดท าแนวทางการพัฒนาเพื่อการบรหารจัดการโซความเย็น (Cold Chain) ในสนคาพืชผักและผลไมของสถาบันเกษตรกรในพ้นที่ EEC และจังหวัดใกลเคียง
้
ิ
่
้
ิ