Page 26 - รายงานการวิจัย การพัฒนารูปแบบดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
P. 26

12



                       สร้างมาจากความคิด ประสบการณ์ การใช้อุปมาอุปไมย หรือจากทฤษฎี หลักการ ต่างๆ และ
                                                    2
                       แสดงออกในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง
                                บาร์โดและฮาร์ตแมน (Bardo and Hartman) ได้กล่าวถึงรูปแบบ ในทางสังคมศาสตร์ไว้
                       ว่า “เป็นชุดของข้อความเชิงนามธรรมเกี่ยวกับปรากฏการณ์ที่เราสนใจ เพื่อใช้ในการนิยาม
                       คุณลักษณะและ/ หรือ บรรยายคุณสมบัตินั้นๆ” และยังอธิบายต่อไปว่า รูปแบบเป็นอะไรบางอย่างที่

                       เราพัฒนาขึ้นมา เพื่อบรรยายคุณลักษณะที่ส าคัญของปรากฏการณ์ อย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อให้ง่ายต่อ
                       การท าความเข้าใจ รูปแบบจึงมิใช่การบรรยายหรืออธิบาย ปรากฏการณ์อย่างละเอียดทุกแง่มุม
                       เพราะการท าเช่นนั้นจะท าให้รูปแบบมีความซับซ้อนและยุ่งยากเกินไปในการที่จะท าความเข้าใจ ซึ่งจะ
                       ท าให้คุณค่าของรูปแบบนั้นด้อยลงไป ส่วนการที่จัดระบบรูปแบบหนึ่งๆ จะต้องมีรายละเอียดมากน้อย

                       เพียงใดจึงจะเหมาะสม และรูปแบบนั้นๆ ควรมีองค์ประกอบอะไรบ้าง ไม่ได้มีข้อก าหนดเป็นการ
                       ตายตัว ทั้งนี้ก็แล้วปรากฏการณ์แต่ละอย่างและวัตถุประสงค์ของผู้สร้างรูปแบบที่ต้องการจะอธิบาย
                                            3
                       ปรากฏการณ์นั้นๆอย่างไร
                                ส าหรับการวิจัยครั้งนี้รูปแบบจะหมายถึง โครงสร้างที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่าง
                       องค์ประกอบต่างๆ หรือตัวแปรต่างๆ ผู้วิจัยสามารถใช้รูปแบบอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง
                       องค์ประกอบต่างๆ หรือ ตัวแปรต่างๆ ที่มีในปรากฏการณ์ธรรมชาติหรือระบบต่างๆ อธิบายล าดับ
                       ขั้นตอนขององค์ประกอบหรือกิจกรรมในระบบ


                                วิธีการวิจัยโดยใช้รูปแบบ


                                การวิจัยโดยใช้รูปแบบจ าแนกออกได้เป็น 2 ขั้นตอน ขั้นตอนแรกเป็นการสร้างหรือ
                       พัฒนารูปแบบ ขั้นที่สองเป็นการทดสอบความเที่ยงตรง (Validity) ของรูปแบบ


                                การสร้างหรือพัฒนารูปแบบ

                                จากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนารูปแบบพบว่า การพัฒนารูปแบบนั้น

                       อาจจะมีขั้นตอนในการด าเนินงานแตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปแล้วอาจจะแบ่งออกเป็นสองตอน ใหญ่
                       ๆ คือ การสร้างรูปแบบ (Construct) และการหาความตรง (Validity) ของรูปแบบ ส่วนรายละเอียด
                       ในแต่ละขั้นตอนว่ามีการด าเนินการอย่างไรนั้นขึ้นอยู่กับลักษณะและกรอบแนวคิด ซึ่งเป็นพื้นฐานใน
                       การพัฒนารูปแบบนั้นๆ ตัวอย่างงานวิจัยที่เกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบ ได้แก่ การพัฒนารูปแบบซึ่งเป็น

                       รูปแบบการควบคุมวิทยานิพนธ์ของ บุญชม ศรีสะอาด ซึ่งได้แบ่งการด าเนินการออกเป็น 2 ขั้นตอน
                       คือ การพัฒนารูปแบบและการทดสอบ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของรูปแบบ ในส่วนการพัฒนา
                       รูปแบบนั้น ด าเนินการ โดย วิเคราะห์ล าดับในการท าวิทยานิพนธ์ หลักการเขียนรายงานการวิจัย
                       จุดบกพร่องที่มักจะพบใน การท าวิทยานิพนธ์ ฯลฯ แล้วน าองค์ประกอบเหล่านั้นมาสร้างรูปแบบการ



                                2  ทิศนา แขมมณี,ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดการกระบวนการเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพ.
                       พิมพ์ครั้งที  5. (กรุงเทพมหานคร : ส านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550),หน้า 3-4.
                                3  Bardo, J.W.; & Hartman, J.J.  Urban Sociology; A Systematic  Introduction. New York
                       : Peacock. 1982 , p 245
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31