Page 27 - รายงานการวิจัย การพัฒนารูปแบบดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
P. 27

13



                       ควบคุมวิทยานิพนธ์ ตามล าดับขั้นในการท าวิทยานิพนธ์ หลังจากนั้นจะเป็นขั้นตอนที่ 2 น ารูปแบบ
                                                                                  4
                       ดังกล่าวไปทดสอบและประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของรูปแบบ
                                จากการศึกษาวิเคราะห์ในเรื่องนี้พอสรุปได้ว่าการสร้างรูปแบบ (Model) นั้นไม่มี
                       ข้อก าหนดที่ตายตัวแน่นอนว่าต้องการท าอะไรบ้าง แต่โดยทั่วไปจะเริ่มต้นจากการศึกษาองค์ความรู้

                       (Intensive Knowledge) เกี่ยวกับเรื่องที่เราจะสร้างรูปแบบให้ชัดเจน จากนั้นจึงหาสมมุติฐาน และ
                       หลักการของรูปแบบที่จะพัฒนาแล้วสร้างรูปแบบตามหลักการที่ก าหนดขึ้นและน ารูปแบบที่สร้างขึ้น
                       ไปตรวจสอบและประเมินผลหาคุณภาพของรูปแบบ
                                สรุปแล้วการพัฒนารูปแบบมีการด าเนินการเป็นสองขั้นตอนใหญ่ คือ การสร้างรูปแบบ

                       และการหาคุณภาพของรูปแบบ

                       2.2  ทฤษฎีการสูงอายุ


                                1.  ความหมาย
                                ผู้สูงอายุตามค าจ ากัดความของมติสมัชชาใหญ่ของโลกผู้สูงอายุที่กรุงเวียนนา พ.ศ. 2525
                       หมายถึง ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป โดยที่ประชุมองค์การอนามัยโลกที่เมือง KIEV ประเทศรัสเซีย ปี
                       ค.ศ. 1963 ได้จัดประเภทการเป็นผู้สูงอายุ โดยยึดเอาความยืนยาวของชีวิต ตามปีปฏิทิน ดังนี้ คือ
                                1)  วัยสูงอายุ อายุระหว่าง 60 -74 ปี เป็นผู้สูงอายุวัยต้น (Young Old) ยังสามารถท า

                       กิจกรรมได้
                                2)  วัยชรา มีอายุ 75 ปีขึ้นไป (Old-Old) ถือว่าเป็นผู้สูงวัยอย่างแท้จริง ผู้สูงอายุตาม
                       พระราชบัญญัติ พ.ศ. 2546 หมายถึง บุคคลที่มีอายุเกิน 60 ปีบริบูรณ์และมีสัญชาติไทย
                                                                                              5
                                บรรลุ ศิริพานิช  ได้กล่าว่า ผู้สูงอายุ หมายถึง ผู้มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปโดยนับอายุตามปี

                       ปฏิทิน ซึ่งเป็นเกณฑ์ที่องค์การระหว่างประเทศได้ตกลงกันเป็นมาตรฐานสากลในการ ก าหนดอายุ
                                       6
                       เริ่มต้นของชราภาพ
                                จากความหมายดังกล่าวผู้สูงอายุหมายถึง ผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป มีการเปลี่ยนแปลงไปตาม
                       วัย ทั้งร่างกาย จิตใจ ปัญญาและสังคม

                                2.  เกณฑ์การแบ่งช่วงอายุผู้สูงอายุ

                                บรรลุ ศิริพานิช  ได้จ าแนกผู้สูงอายุตามอายุ และภาวะสุขภาพออก เป็น 3 กลุ่ม ดังนี้

                                1) กลุ่มผู้สูงอายุระดับต้น (The Young Old) เป็นผู้มีอายุ 60-70 ปีมีการเปลี่ยนแปลง
                       สภาวะทางกายภาพและสรีระวิทยาเปลี่ยนแปลงไปไม่มาก สามารถช่วยตนเองได้เป็นส่วนใหญ่ และ
                       เพิ่งผ่านวัยที่มีประสบการณ์มาก จึงควรน าผู้สูงอายุกลุ่มนี้ไปช่วยงานสร้างสรรค์ต่อวิชาการ และดูแล
                       ผู้สูงอายุวัยอื่น


                                4  บุญชม ศรีสะอาด .การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 2. (กรุงเทพมหานคร:สุวีริยาสาส์น ,2535).หน้า 13.
                                5  กรมการแพทย์, กระทรวงสาธารณสุข, การออกก าลังกายทั่วไปและเฉพาะโรคผู้สูงอายุกรุงเทพ
                       มหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2548),หน้า 1.
                                6  บรรลุ ศิริพานิช  เวชศาสตร์ผู้สูงอายุ. (กรุงเทพมหานคร : กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข,
                       2532),หน้า 42.
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32