Page 29 - รายงานการวิจัย การพัฒนารูปแบบดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
P. 29

15



                       ท าให้อ่านหนังสือต้องใช้แว่นสายตาช่วย การเปลี่ยนแปลงของตาอีกประการหนึ่งที่พบมากคือ มีวง
                       แหวนขุ่นขาวเกิดขึ้นที่รอบๆ ตาด า (senilis) สาเหตุเนื่องจากบริเวณขอบตาด ามีสารไขมันมาเกาะจับ
                       เนื้อเยื่อโดยรอบ การเปลี่ยนแปลงนี้ไม่เป็นอันตรายต่อตาและการมองเห็นยังเป็นปกติ เพียงแต่ดูหน้า
                       แล้วเห็นตาจะรู้ว่ามีอายุทันที

                                      1.3  หู เป็นอวัยวะส าคัญของการสื่อสารเช่นเดียวกับตา ลักษณะความเสื่อมของหู
                       เป็นเช่นเดียวกับตา กล่าวคือเมื่อมีอายุความสามารถในการได้ยินจะลดลง เนื่องจากความเสื่อมของ
                       ระบบการได้ยินเสียง ซึ่งประกอบด้วย อวัยวะส าคัญ 4 ส่วนคือ
                                          1.3.1  หูชั้นกลางท าหน้าที่ตอบสนองต่อการน าเสียง

                                          1.3.2  หูชั้นในท าหน้าที่วิเคราะห์กลไกความถีและการถ่ายโยงสิ่งเร้า
                                          1.3.3  เส้นประสาท ส าหรับน าเสียงและเลือกเฟ้นการได้ยินได้ฟังและ
                                          1.3.4  ศูนย์รับเสียงส่วนกลาง ทั้ง 4 ส่วนนี้จะท าหน้าที่ประสมประสานและ
                       แปลเสียง สาเหตุของความเสื่อมของหูมักเกิดจากอวัยวะการรับเสียงดังกล่าวเสื่อม ซึ่งพบมากใน

                       ผู้สูงอายุเลย 70 ปีไปแล้ว เพราะฉะนั้นไม่ต้องกลัว อาจพบได้กับในคนอายุน้อยกว่า 70 ปี แต่เป็นบาง
                       คนเท่านั้น
                                      1.4  กล้ามเนื้อ คนจะมีกล้ามเนื้อที่แข็งแรงและเจริญเต็มที่ เมื่ออายุประมาณ 25-30

                       ปีหลังจากนั้นก็จะเสื่อมถอยก าลังลง แต่ผู้ที่ใช้ก าลังกล้ามเนื้ออย่างสม่ าเสมอ เช่น นักกีฬา ผู้ใช้แรงงาน
                       ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อจะคงตัวได้นานถึงอายุ 60 ปี จากนั้นก็เสื่อมสภาพลงเช่นกัน ความแข็งแรง
                       ของกล้ามเนื้อจะเสื่อมช้าหรือเร็วขึ้นอยู่กับวิถีการด ารงชีวิตของคนๆนั้น สัดส่วนกล้ามเนื้อแขนขา
                       ล าตัวที่ลดขนาดลงจะถูกแทนที่ด้วยเนื้อเยื่อไขมัน ท าให้เกิดการหย่อนยาน ลุ่น เช่น ที่หน้าท้อง ต้น
                       แขนและผนังหน้าท้อง ถ้าอ้วนมากไขมันจะเพิ่มมากเกิดเป็นต้นแขนห้อย เหนียงคอยาน

                                      1.5  กระดูก วัยสูงอายุเป็นวัยที่กระดูกมีความเปราะบางและหักง่าย โดยเฉพาะ
                       ผู้หญิงหลังหมดประจ าเดือน เนื้อกระดูกจะสูญเสียแคลเซียมซึ่งเป็นส่วนประกอบส าคัญได้ง่าย ท าให้
                       เป็นโรคกระดูกพรุนคือเมื่อหกล้มกระดูกจะหักโดยเฉพาะกระดูกข้อมือ หรือหัวของกระดูกต้นขาตรง

                       ข้อต่อที่สะโพก นอกจากกระดูกพรุนแล้ว ในวัยสูงอายุอาจพบหมอนรองกระดูกสันหลังเสื่อม ท าให้มี
                       อาการปวดหลัง คนที่อ้วนมาก หรือคนที่ท างานหนักต้องใช้แรงงานจะมีกระดูกข้อต่อเสื่อมมากกว่าคน
                       ทั่วไป ความเสื่อมของกระดูกมีผลต่อโครงสร้างของร่างกายของผู้สูงอายุบางคน ท าให้มีลักษณะไหล่
                       คุ้มและหลังโก่งเมื่อแก่ตัว

                                      1.6  ระบบภายในร่างกาย ในขณะที่ร่างกายภายนอกมีการเปลี่ยนแปลงไปตามอายุ
                       ซึ่งสามารถสังเกตเห็นได้ สภาพภายในร่างกายก็มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างช้าๆตามอายุด้วย

                       โดยเฉพาะการย่อย และการขับถ่าย ระบบภายในร่างกายที่เปลี่ยนแปลงปรากฏ ดังนี้
                                              1.6.1  ประสิทธิภาพการดูดซึมอาหารลดลง ปัญหาของผู้สูงอายุในการ

                       รับประทานอาหารที่ส าคัญคือเรื่องของฟัน มีผู้สูงอายุน้อยคนที่จะด ารงฟันแท้ของตนไว้ตลอดอายุขัย

                       ส่วนใหญ่มักพบว่าต้องอาศัยฟันปลอมท าให้การบดเคี้ยวอาหารไม่ละเอียด กระบวนการย่อยในปาก
                       ขาดคุณภาพ เมื่ออายุมากการท างานของกระเพาะและล าไส้จะลดลงตามไปด้วย กระเพาะอาหารจะ

                       หลั่งเอมไซม์
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34