Page 33 - รายงานการวิจัย การพัฒนารูปแบบดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
P. 33
19
4 ความสามารถทางเชาวน์ปัญญา เชาวน์ปัญญาเป็นความสามารถของบุคคลที่มีต่อ
สิ่งแวดล้อมในการแสดงออก การกระท า การคิดอย่างมีเหตุผล โดยบูรณาการความสามารถในการ
รับรู้และความรู้เข้าด้วยกัน การแสดงออกทางเชาวน์ปัญญาจะสัมพันธ์กับการเรียนรู้ ความจ า การ
แก้ปัญหา เหตุผล ความคิด และความสามารถในการสื่อภาษาและท่าทางให้คนอื่นรับรู้ ต่อเมื่ออายุ
ความสามารถทางเชาวน์ปัญญาดังกล่าวจะลดลง เนื่องจากความเสื่อมของสมองความจ าเป็นของสมอง
ความจ าและอาจมีปัญหาสุขภาพร่วมด้วย
5 สมรรถภาพทางเพศ จ าแนกออกได้เป็น 2 ประการ
ประการแรกคือความสามารถในการสืบพันธุ์ ผู้หญิงจะหมดความสามารถในการสืบพันธุ์
ทันทีที่หมดประจ าเดือน แต่ความสามารถทางเพศยังคงอยู่ ส่วนผู้ชายคงความสามารถในการสืบพันธุ์
มีได้ตลอดอายุขัย ไม่ว่าผู้ชายจะแต่งงานเมื่ออายุมากเท่าใดก็ตาม ก็สามารถมีบุตรได้เสมอ
ประการที่สอง สมรรถภาพทางเพศในแง่เพศสัมพันธ์ทั้งหญิงและชายจะจ ากัดลง ซึ่งมิได้มี
สาเหตุมาจากอายุแต่สาเหตุส าคัญมักมาจากความรู้สึกต่อการมีเพศสัมพันธ์มากกว่า
องค์ประกอบร่วมที่ส าคัญ
1 ความกลัว ที่กลัวมากคือกลัวไม่ประสบความส าเร็จ หรือกลัวตาย ท าให้ไม่มั่นใจและ
ขาดความสุขในเพศสัมพันธ์
2 วัฒนธรรมและค่านิยม สังคมบางแห่งเห็นว่าผู้สูงอายุเป็นวัยที่ควรจะงดเว้นด้านกามา
รมณ์ ซึ่งแม้แต่ผู้สูงอายุเองก็มีความรู้สึกว่าตนเองไม่ควรมีเพศสัมพันธ์อย่างเช่นวัยหนุ่มสาว หรือถ้ามี
ต้องไม่มากเกินไป ควรจ ากัดลงบ้าง
3 ความเสื่อมของสุขภาพโดยเฉพาะที่มีผลเกี่ยวข้องกับเพศสัมพันธ์ เป็นกิจกรรมธรรม
ชาติที่เป็นความต้องการจ าเป็นอย่างหนึ่งของคน การมีเพศสัมพันธ์จึงเป็นเรื่องธรรมดาของชีวิตที่
ผู้สูงอายุก็สามารถหาความสุขได้ เว้นเสียแต่ว่ามีปัญหาความเสื่อมของสุขภาพทางร่างกาย
4 ความสามารถในการแก้ปัญหา การแก้ปัญหาขึ้นอยู่กับองค์ประกอบส าคัญ คือ ความจ า
การเรียนรู้ที่สามารถจะน ามาใช้ประสมประสานในการแก้ปัญหา และ สติปัญญาซึ่งจะใช้ทั้ง
กระบวนการเช่น เหตุผล มโนทัศน์ และผลผลิตของสติปัญญา สมรรถนะทางกายอาจเปลี่ยนแปลงไป
ในทางลดลง แต่มิใช่ถดถอย ผู้สูงอายุต้องยอมรับการเปลี่ยนแปลงนี้ แล้วปรับตัวให้เข้ากับความจริงจะ
ท าให้ภาวการณ์ท างานจะยังคงอยู่ตลอดไป
2.2.3 การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจ
การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย และสมรรถภาพมีผลโดยตรงต่อสภาพจิตใจของผู้สูงอายุมอง
รูปลักษณ์ของตนเอง และมโนทัศน์ต่อตนเองเปลี่ยนไป แต่ผู้สูงอายุสามารถปรับสภาวะทางจิตใจและ
อารมณ์ไปตามการเปลี่ยนแปลงของร่างกายและสมรรถภาพได้โดยอัตโนมัติ มีการเรียนรู้ประสบการณ์
ทางจิตใจอย่างต่อเนื่อง ซึ่งท าให้ผู้สูงอายุสามารถปรับและยอมรับตนเองได้มีความมั่นคงมากขึ้น