Page 47 - รายงานการวิจัย การพัฒนารูปแบบดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
P. 47
33
2.5 เทคนิคกระบวนการ ระดมสมองแบบมีส่วนร่วม (Appreciation Influence
Control: A-I-C)
เทคนิคกระบวนการระดมสมองแบบมีส่วนร่วมเป็นเทคนิคที่มีการระดมสมองท าให้เกิด
ความเข้าใจสภาพปัญหา ค้นพบความต้องการ ขีดจ ากัดและศักยภาพของผู้เกี่ยวข้องในเรื่อง ต่าง ๆ
ผลที่ได้เกิดจากทุกคนมีส่วนคิด ตัดสินใจและยอมรับซึ่งกันและกัน A-I-C เป็นทั้งปรัชญาและรูปแบบ
ของการปฏิบัติการ
ในแง่มุมปรัชญา จะยึดหลักความสัมพันธ์ 3 ส่วน คือ พลังของการควบคุม (control) พลัง
ของการยอมรับ (influence) และพลังของความเข้าใจ รู้คุณค่า (appreciation) เป็นหลักใน
กระบวนการจัดการ
การประยุกต์ ปรัชญา A-I-C มาใช้ในการบริหารจัดการการพัฒนา เช่น การวางแผนการ
ด าเนินการ และการติดตามประเมินผล A-I-C
ในแง่ของเทคนิคการปฏิบัติการใช้ในการประชุมเชิงปฏิบัติการ อีกทั้งเป็นพื้นฐาน ที่ช่วย
กระตุ้นให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้พิจารณาปัจจัยทางสังคม การเมือง และวัฒนธรรม ไป พร้อมๆ กัน กับ
ปัจจัยด้านวิชาการและเศรษฐกิจ ซึ่งมีผลต่อการตัดสินใจ เนื่องจากมีผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย
(stakeholders) ร่วมด้วย
ในแง่ของเทคนิค A-I-C จึงมีลักษณะ ดังนี้
1 เป็นเทคนิคที่ช่วยให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียก าหนดวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมายให้
2 A-I-C จะช่วยให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกคนตระหนักถึงขอบเขตของตนว่ามีความเกี่ยว
ข้องกับวัตถุประสงค์ หรือจุดมุ่งหมายที่ก าหนดไว้อย่างไร
3 ก่อให้เกิดโอกาสหรือเวทีที่เอื้อให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกคน พยายามร่วมมือกัน หรือมี
ส่วนร่วมด าเนินการที่จะไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมายนั้น ความเป็นมา แนวคิดเพื่อการ
ท างานเพื่อแก้ปัญหา มีวิวัฒนาการมาเป็นล าดับ ในยุคแรกผู้เชี่ยวชาญ เป็นผู้คิดและท าให้เป็นยุคที่
คิดว่าคนด้อยพัฒนา ต่อมาเป็นยุคก าลังพัฒนา ทุกคนต้องร่วมกันแก้ปัญหา พัฒนาการอีกขั้นคือ
ผู้เชี่ยวชาญจัดระบบการแก้ปัญหาให้เท่าที่มีข้อมูลและประชาชน ท าตาม ในปัจจุบันเป็นยุคที่ทุกคนมี
ส่วนร่วมสร้างระบบ เพราะคนจะพัฒนาได้ต้องจัดการให้คนมีความรู้ ประสบการณ์ อาศัยระสบการณ์
ที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นในตนเอง(Human Entered) มาร่วมกันคิด เปลี่ยนการเรียนรู้จากการ
สอนให้จดจ าและท าตามเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดและประสบการณ์ เพื่อวิเคราะห์ร่วมกัน
เลือกตัดสินใจได้เอง มีวุฒิ ภาวะ ดังนั้นการท างานจึงต้องเริ่มที่การประชุมร่วมกัน คิดสร้างสรรค์ เพื่อ
สร้างจุดมุ่งหมาย กลวิธี เขียนแผน และโครงการ มีส่วนร่วมตั้งแต่ต้น ส าหรับรูปแบบของ A-I-C นั้น
ธนาคารโลก (World Bank) ใช้มาตั้งแต่ พ.ศ.2513 และนิยมใช้รูปแบบของ ดร.วิลเลี่ยม อี สมิท
(Dr. William E. Smith) และ นางทูริต ชาโต้ (Ms.Turid Sato) ผู้ก่อตั้งสถาบัน/ผู้ก่อตั้ง
Organization for Development : Inter sad Institute (ODII) ในประเทศไทย สมาคมพัฒนา
ประชากรและชุมชนร่วมกับสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาแห่งประเทศไทย ได้น ามาทดลองในปี 2533
โดยร่วมกับกรมการพัฒนาชุมชน ปรับปรุง ทดลองน าไปปฏิบัติงานในหมู่บ้าน ต าบล และพบว่า
กระบวนการนี้ช่วยกระตุ้นให้ประชาชนตื่นตัว มีพลังในการรวมกลุ่ม รู้สึกเป็นเจ้าของใน โครงการ