Page 56 - รายงานการวิจัย การพัฒนารูปแบบดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
P. 56
42
ประจ าก็มีนอกเหนือจากบทสวดท าวัตร เมื่อเรียกรวมการสวดทั้งสองนี้เข้าด้วยกันก็เรียกว่าการท าวัตร
21
สวดมนต์
ความหมายของค าว่ามนต์
ส าหรับค าว่ามนต์มาจากภาษาบาลว่ามันตะ และภาษา สันสกฤตว่า มัตระ หมายถึงค าพูด
ที่ศักดิ์สิทธิ์ที่ต้องอาศัยการสวดหรือบริกรรมพร่ าบ่นจึงจะท าให้เกิดอานุภาพในการป้องกันเหตุต่างๆ
ซึ่งมนต์นี้พระพุทธองค์ทรงชี้ให้เห็นว่าเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้ถ้าขยันพร่ าบ่น แต่ถ้าไม่ขยันพร่ าบ่นแล้วก็จะ
22
ไม่ศักดิ์สิทธิ์(เป็นมลทิน) หรือเสื่อมได้
ค าว่า สวดมนต์ แยกออกเป็น 2 ค า คือ “สวด กับ มนต์” ค าว่า “สวด” ได้แก่ การท่อง
บ่น หรือสาธยายค าสอนทางพระพุทธศาสนา การสวดพระพุทธมนต์มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ
สวดพระธรรมเพื่อรักษาพระศาสนา สวดพระปริตร เพื่อจะคุ้มครองป้องกันอันตราย
23
ความหมายของค าว่า “มนต์” ได้มีนักวิชาการได้ให้ความหมาย ดังนี้
พระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) ได้ให้ความหมายไว้ในพจนานุกรมฉบับประมวลศัพท์
24
ว่า “ ค าที่เชื่อถือศักดิ์สิทธิ์,ค าส าหรับสวด,ค าส าหรับเสก(มักใช้กับศาสนาพราหมณ์)
พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) ได้ให้ความหมายขอค าว่า มนต์ หมายถึงค าที่
ศักดิ์สิทธิ์ ค าเหล่านี้พระสงฆ์คัดเลือกมาจากพระไตรปิฎกซึ่งเป็นพระพุทธพจน์จึงเรียกว่าพระพุทธมนต์
คือค าศักดิ์สิทธิ์ของพระองค์มีสมาธิจิตอันแน่วแน่สวดไปพร้อมๆกัน เพื่อให้สัมฤทธิ์ตามความหมายแห่ง
25
ถ้อยค าพุทธพจน์ที่น ามาสวดนั้น
หลวงวิจิตรวาทการ ได้ให้ความหมายไว้ว่า “ มนต์ หมายถึงมนต์คาถาของ
พระพุทธศาสนา ทีเรียกว่าพุทธมนต์ ข้อความหรือวิธีการใช้นั้นเป็นไปในทางทีดีงาม ในทางที่จะให้เกิด
ความเมตตาอารี มีไมตรีจิตรต่อกันและกัน ไม่ประทุษร้ายเบียดเบียนกัน เป็นไปเพื่อสันติสุขของมนุษย์
และสัตว์ทั้งหลายทั่วหน้า
26
ค าว่า”สวดมนต์” อาจสรุปได้ว่า หมายถึง การกล่าวค าศักดิ์สิทธิ์อันมีพลัง มีอ านาจ มี
อิทธิฤทธิ์เหนือจิตใจของมนุษย์เรา ได้แก่การกล่าวค าสรรเสริญพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆ
คุณ และมนต์ของพระพุทธเจ้าที่เรียกว่า พระพุทธมนต์
คุณประโยชน์ของการสวดมนต์
21 กรมการศาสนา,ธรรมศึกษาชั้นโท ฉบับปรับปรุงใหม่ที่ประกาศใช้ปัจจุบัน,(กรุงเทพมหานคร : โรง
พิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ ากัด 2550),หน้า 109
22 ธนิต อยู่โพธิ์, อานุภาพพระปริตต์,(กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,2537),
หน้า 18-19.
23 สมเด็จกรมพระยาด ารงราชานุภาพ,ต านานพระปริตร,(กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ท่า
พระจันทร์,2511),หน้า 1.
24 สมเด็พระพุทธโฆษาจารย์(ป.อ.ปยฺโต ),พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวล
ศัพท์,(กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,2546),หน้า 213.
25 พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต),อานุภาพแห่งพระปริตร,(กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,2548),หน้า 35.
26 พลตรีหลวงวิจิตรวาทการ,มหัศจรรย์ทางจิต,(กรุงเทพมหานคร : เสริมวิทย์บรรณาคาร,2507),หน้า
69.