Page 53 - รายงานการวิจัย การพัฒนารูปแบบดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
P. 53
39
ส าเร็จ เพราะจิตที่เป็นสมาธิแน่วแน่อยู่กับสิ่งที่ก าลังท า อยู่ โดยไม่เกิดความฟุ้งซ่าน ย่อมท าให้งาน
ประสบความส าเร็จได้ดี ไม่ผิดพลาด และมีประสิทธิภาพตามเป้าหมายที่วางไว้
4 วิมังสา (investigation) วิมังสา แห่งอิทธิบาท 4 คือ การสอบสวน ไตร่ตรอง พิจารณา
ตรวจสอบในสิ่งที่ก าลังท านั้นๆ รวมถึงการรู้จักค้นคว้า ทดลอง คิดค้น และรู้จักคิดแก้ไขปรับปรุงงาน
ให้ก้าวหน้าอยู่เสมอ ทั้งนี้ ปัจจัยส าคัญที่ส่งผลต่อความส าเร็จในการท าสิ่งใดๆ ย่อมเกิดจากปัจจัยจาก
ข้อนี้เป็นสิ่งส าคัญ เพราะการใช้วิมังสา คือ การคิด วิเคราะห์ อย่างมีเหตุ และผล ย่อมท าให้เข้าใจต่อ
กระบวนการ วิธีการ และแนวทางในการด าเนินงานที่ถูกต้อง เหมาะสม รวมถึงย่อมรู้จักแนวทางใน
การแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้ดี แต่หากไม่มีการใช้ปัญญาก่อนท าหรือขณะท าสิ่งใดๆแล้ว ย่อมน ามา
ซึ่งปัญหา และอุปสรรคในสิ่งนั้นๆ ส่งผลต่อการท้อแท้ การท าสิ่งนั้นไม่ส าเร็จ หรือหากส าเร็จก็จะไม่
เกิดประสิทธิผลอย่างเต็มที่
องค์ประกอบของวิมังสา
1 การใช้ปัญญาคิด วิเคราะห์ก่อนที่จะลงมือปฏิบัติหรือระหว่างปฏิบัติในสิ่งนั้นๆ
2 การใช้ปัญญาคิดวิเคราะห์ในสิ่งนั้นๆ ตามคันรองคลองธรรม
3 การแก้ไข ปรับปรุงข้อบกพร่อง และพัฒนาในสิ่งนั้นๆด้วยปัญญา
ทั้งนี้ ลักษณะของวิมังสาที่เกิดขึ้น มิได้เหมาะส าหรับน าไปใช้ในการงานเท่านั้น แต่
สามารถน าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันด้านอื่นๆ ได้แก่ การรู้จักคิด วิเคราะห์ในการเจริญธรรม
การรู้จักคิด วิเคราะห์ในบทเรียน การรู้จักคิด วิเคราะห์ก่อนที่จะพูดหรือท าในสิ่งใดๆ วิมังสา คือ
การรู้จักคิด วิเคราะห์ ที่มักคู่กับค าว่า ปัญญา คือ ความรู้ หรือ ความรู้แจ้ง เป็นความรู้ ความเข้าใจ
ต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งในเหตุ และผล รวมถึงองค์ประกอบ และพื้นฐานของสิ่งๆนั้น สามารถตัดสิน และบ่งชี้
สิ่งนั้นได้เป็นมาอย่างไร มีลักษณะอย่างไร รวมถึงรู้แยกแยะสิ่งต่างๆว่าถูกผิด ดีชั่ว ดังนั้นแล้ว การมี
ปัญญาจึงเป็นการรอบรู้ในทุกๆด้าน และพึงใช้ปัญญาก่อนที่จะท าเพื่อให้เกิดความเข้าใจ และลึกซึ้ง
ก่อน เพื่อให้การนั้นๆด าเนินไปตามเป้าหมายที่วางไว้ และไม่เกิดปัญหาอุปสรรค พร้อมยัง
18
ประสิทธิภาพในสิ่งนั้นให้ส าเร็จตามวัตถุประสงค์
ดังนั้น ฉันทะ และวิริยะ เป็นหลักปฏิบัติที่ช่วยให้บุคคลมีความมั่นใจในการที่จะเผชิญหน้า
กับปัญหา และอุปสรรคในการท างาน และมีจิตตะ และวิมังสา เป็นหลักปฏิบัติที่ช่วยในการเอาชนะ
ปัญหา และอุปสรรคในการท างานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
3 ภาวนา ภาวนา แปลว่า ธรรมที่ควรกระท าให้เจริญขึ้น คือให้เกิดขึ้นบ่อยๆ ในสันดาน
ของตน เมื่อวิเคราะห์ตามศัพท์พระบาลีท่านว่า "ภาเวตัพพาติ = ภาวนา" แปลความว่า ธรรมที่บัณฑิต
ทั้งหลายพึงท าให้เกิดขึ้นเป็นครั้งแรก และครั้งหลังๆ ให้ติดต่อกันเป็นนิจ จนถึงเจริญ-ขึ้น
ภาวนา แปลว่า การเจริญ การอบรม การท าให้มีให้เป็นขึ้น หมายถึง การท าจิตใจให้สงบ
และท าปัญญาให้เกิดขึ้น ด้วยการฝึกฝนอบรมจิตไปตามแบบที่ท่านก าหนดไว้ ซึ่งเรียกชื่อไปต่างๆ เช่น
การบ าเพ็ญกรรมฐาน การท าสมาธิ การเจริญภาวนา การเจริญจิตตภาวนา ภาวนา ในทางปฏิบัติท่าน
แบ่งไว้เป็น 2 แบบใหญ่ ๆ คือ
18 สุขภาพจิต/ศาสนา › อิทธิบาท 4 และแนวทางปฏิบัติ, [ออนไลน์] เข้าถึงเมื่อ 11 เมษายน 2561
เข้าถึงได้จาก thaihealthlife.com ›