Page 63 - รายงานการวิจัย การพัฒนารูปแบบดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
P. 63
49
39
เบญจพร สว่างศรี และเสริมศิริ แต่งงาม ท าการวิจัยเรื่อง การดูแลสุขภาพตนเองของ
ผู้สูงอายุ อ าเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า การศึกษาระดับการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ
ทั้ง 3 ด้านโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง(x =3.04 โดยพบว่า ด้านการป้องกันโรคอยู่ในระดับมาก( x =
3.37) ด้านการส่งเสริมสุขภาพอยู่ในระดับปานกลาง ( x = 2.97) ด้านการฟื้นฟูสุขภาพ อยู่ในระดับ
ปานกลาง ( x = 2.77)
40
จุรีวรรณ มณีแสง และคณะ ท าการวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของการสร้างเสริมสุขภาพ
แบบมีส่วนร่วมต่อสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดปทุมธานี.พบว่า ผู้สูงอายุหลังเข้าร่วมโครงการสร้างเสริม
สุขภาพแบบมีส่วนร่วมมีความรู้ การรับรู้ และความคาดหวังของการปฏิบัติตน และมีพฤติกรรมการ
ดูแลสุขภาพตนเอง สูงกว่าก่อนเข้าร่วมโครงการ อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และจากการ
เปรียบเทียบพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพก่อนและหลัง เข้าร่วมโครงการ พบว่า มีความแตกต่าง
อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (P < .05) โดยหลังเข้าร่วมโครงการ ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
การออกก าลังกาย และการจัดการความเครียดอยู่ในระดับดี ซึ่งสูง กว่าก่อนเข้าร่วมโครงกา
41
กิตติมาพร โลกาวิทย์ ท าวิจัยเรื่อง ภาวะสุขภาพและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ ของ
ผู้สูงอายุในชุมชนจังหวัดปทุมธานี พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีภาวะสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับดี (X =
3.41) เมื่อ พิจารณารายด้านพบว่า ภาวะสุขภาพด้านร่างกาย : ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตร
ประจ าวัน อยู่ในระดับดี (X = 3.40 ) และพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุอยู่ในระดับดี (X =
3.11) โดยพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพด้านความรับผิดชอบต่อสุขภาพดีที่สุด ส่วนด้านออกกก าลัง กาย
ส่วนมากอยู่ในระดับไม่ดี ภาวะสุขภาพมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพอย่างมี นัยส าคัญ
ทางสถิติที่ระดับ .01 (r = .65) อายุมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพอย่างมี นัยส าคัญทาง
สถิติระดับ .01 (r = -.19) สถานภาพสมรสมีความสันพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริม สุขภาพอย่างมี
นัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .-09) รายได้มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพอย่างมี
นัยส าคัญทางสถิติ .01 (r = .31) ส่วนเพศไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
42
อรอุมา ปัญญโชติกุล, และคณะ ผลของสมาธิบ าบัด SKT ในการลดระดับความดัน
โลหิตของผู้ที่มารับบริการ โรงพยาบาลสิเกา จังหวัดตรัง ผลการศึกษาพบว่า . กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มี
ความพึงพอใจต่อการให้บริการในภาพรวม ระดับมากที่สุด (M=4.46, SD=0.59) 2. ความคิดเห็นใน
การท าสมาธิบ าบัด ในภาพรวมก่อนการทดลอง อยู่ในระดับน้อย (M=2.43, SD=1.09) และหลังการ
39 เบญจพร สว่างศรี และเสริมศิริ แต่งงาม, การดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ อ าเภอสามชุก
จังหวัดสุพรรณบุรี, วารสาร ว.มทรส.2556, หน้า 132-133.
40 จุรีวรรณ มณีแสง และคณะ, ประสิทธิผลของการสร้างเสริมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมต่อสุขภาพ
ผู้สูงอายุจังหวัดปทุมธานี,(ออนไลท์)แหล่งที่มา www.western.ac.th/m13/elderly2สืบค้นเมื่อวันที่ 30
กุมภาพันธ์ 62.
41 กิตติมาพร โลกาวิทย์,ภาวะสุขภาพและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ ของผู้สูงอายุในชุมชนจังหวัด
ปทุมธานี,วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี, ปีที่5 ฉบับที่1 (มกราคม – เมษายน 2556)หน้า 194.
42 อรอุมา ปัญญโชติกุล, และคณะ(2557) “ผลของสมาธิบ าบัด SKT ในการลดระดับความดันโลหิต
ของผู้ที่มารับบริการ โรงพยาบาลสิเกา จังหวัดตรัง,”วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดตรัง 2557),หน้า 22.