Page 64 - รายงานการวิจัย การพัฒนารูปแบบดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
P. 64

50



                       ทดลอง อยู่ในระดับมากที่สุด (M=4.59, SD=0.69) ซึ่งแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ(p- value
                       <0.05) ความดันโลหิตหลังการท าสมาธิบ าบัดมีระดับความดันโลหิตต่ ากว่าก่อนการท าสมาธิบ าบัด
                       อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (p-value<0.05) ผลการศึกษานี้สามารถน าไปใช้ในกลุ่มบุคคลที่เป็นโรค
                       ความดันโลหิตสูง และกลุ่มบุคคลโดยทั่วไป สามารถน าสมาธิบ าบัดไปประยุกต์ใช้ที่บ้านได้

                                                                      43
                                 พระมหานิพนธ์ มหาธมฺมรกฺชิโต, และคณะ  ท าการวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการ
                       ดูแลสุขภาพผูสูงอายุดวยหลักจิตภาวนาในพระพุทธศาสนา  ผลการวิจัยพบว่า  1. แนวคิดทฤษฎีการ
                       ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในทางพระพุทธศาสนาจะเน้นกระบวนการพัฒนาจิตด้วยหลักสมถะและวิปัสสนา
                       2. รูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักจิตภาวนาในทางพระพุทธศาสนาคือ การน าหลักจิต
                       ภาวนาที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุเช่นอานาปานสติ เมตตาภาวนา สมาธิแนวเคลื่อนไหว มรณัสสติ เป็น

                       ต้น มาบูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่น ามาจัดเป็นกิจกรรมฝึกอบรมตามกรอบเวลาที่เหมาะสมใน 4
                       ด้าน คือ กาย จิต สังคม และปัญญา 3. ผลจากการทดลองพบว่าก่อนการอบรมโดยภาพรวมผู้สูงอายุ
                       ดูแลสุขภาพอยู่ใน ระดับปานกลางแต่หลังการอบรมโดยภาพรวมผู้สูงอายุดูแลสุขภาพอยู่ในระดับมาก

                       เมื่อ พิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านสังคมด้านปัญญาและด้านจิตใจอยู่ในระดับมากส่วนด้านร่างกาย
                       อยู่ในระดับปานกลาง มีนัยส าคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกันที่ระดับ .05

                                                    44
                                 พระราเชนทร์ วิสารโท  ท าการวิจัยเรื่อง บูรณาการพุทธธรรมกับระบบการดูแลสุขภาพ
                       ระยะยาว ส าหรับผู้สูงอายุของอ าเภอศรีวิไล จังหวัดบึงกาฬ  ผลการวจิยั พบว่า ในค าสอนทาง
                       พระพุทธศาสนา การด ารงชีวิตอยู่อย่างมีคุณภาพมีความสุขที่แท้จริงเป็นสิ่งส าคัญ จึงสอนให้ปฏิบัติ

                       ทางกายและจิตใจควบคู่กันไปอย่างพอดีตามหลักมัชฌิมาปฏิปทา ซึ่งสรปุได้ว่าในหลักภาวนา ๔ เพื่อ
                       พัฒนาพฤติกรรมทางกาย พัฒนาศีล พัฒนาจิตใจ พัฒนาความรู้ความเข้าใจให้สมบูรณ์พร้อม ส าหรับ
                       การวัดผลการพัฒนาตามหลักภาวนานั้น อาจใช้วิธีตรวจสอบคุณสมบัติของบุคคล โดยหลักภาวติ ๔
                       ประการ คือ ภาวติกาย มีกายที่พัฒนาแล้ว ภาวติศีล มีศีลที่พัฒนาแล้ว ภาวติจิต มีจิตพัฒนาแล้ว และ
                       ภาวติปัญญา มีปัญญาที่พัฒนาแล้ว ซึ่งผู้สูงอายุสามารถน ามาบรูณาการเพื่อสร้างความสุขในชวีติได  ้

                       โดยมีรูปแบบกิจกรรม คือ สุขสบาย สุขสนุก สุขสง่า สุขสว่าง และสุขสงบ

                                 วนัสรา เชาวน์นิยม,และคณะ  ท าวิจัยเรื่อง  แบบแผนการบริโภคอาหาร ภาวะ
                                                            45
                       โภชนาการ และปัจจัยขับเคลื่อนชุมชนผู้สูงอายุสุขภาพดี  โดยใช้รูปแบบวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วน
                       ร่วม (Participatory Action Research: PAR) แบ่งเป็น 3  ระยะดังนี้ ระยะที่1 การประเมินสถานะ

                       สุขภาพกายและแบบแผนการบริโภค เลือกการวัดความดันโลหิต น้ าตาลในเลือด ดัชนีมวลกาย ไขมัน



                                43  พระมหานิพนธ์  มหาธมฺมรกฺขิโต, และคณะ “การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพผูสูงอายุดวยหลัก
                       จิตภาวนา”,วารสารสถาบันวิจัยพิมลธรรม(ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ประจ าเดือน มกราคม – มิถุนายน 2560),  หน้า 100-
                       109.
                                44  พระราเชนทร์ วิสารโท,  “บูรณาการพุทธธรรมกับระบบการดูแลสุขภาพระยะยาว ส าหรับผู้สูงอายุ
                       ของอ าเภอศรีวิไล จังหวัดบึงกาฬ”วารสารมหาจุฬาวิชาการ, (ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 2560),หน้า 76-91.
                                45  วนัสรา เชาวน์นิยม,และคณะ,  “แบบแผนการบริโภคอาหาร ภาวะโภชนาการ และปัจจัย
                       ขับเคลื่อนชุมชนผู้สูงอายุสุขภาพดี” ภาควิชาพื้นฐานสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
                       2557
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69