Page 77 - Sutthikan
P. 77
70
1. ความอ้วน
รัชดา แดงจ ารูญ (2545) ส ารวจประชาชนกับปัญหาความอ้วนพบว่า ในประเทศไทย
เรา ได้เริ่มประสบกับปัญหาโรคอ้วนมากขึ้นกว่าแต่ก่อน จากข้อมูลของกรมอนามัย
กระทรวงสาธารณสุข ได้ส ารวจพบว่า ในรอบ 5-6 ปีที่ผ่านมาประชาชนชาวไทยเป็นโรค
อ้วนเพิ่มมากขึ้น โดยเพศชายพบว่าเป็นโรคอ้วนเพิ่มขึ้น 36% เพศหญิงเพิ่มขึ้น 47% โดยช่วง
วัยท างาน อายุระหว่าง 20-29 ปี มีอัตราเพิ่มของโรคอ้วนมากที่สุด ผู้ชายที่มีรอบเอวเกินกว่า
90 เซนติเมตร ผู้หญิงที่มรอบเอวเกินกว่า 80 เซนติเมตร ถือว่ามีความเสี่ยงต่อการเกิดโรค
อ้วน (ขนาดรูปร่างของชายไทยก าหนดจากรอบเอวเฉลี่ยคือ size 40 size 36)
สาเหตุของการเกิดโรคอ้วนในคนไทย พบว่าเกิดจากสาเหตุ 2 ประการดังนี้
1. กรรมพันธุ์
2. การด าเนินชีวิตในรูปแบบตะวันตก เช่น การกินอาหารที่มีไขมันสูง การใช้ชีวิตที่
สะดวกสบาย เคลื่อนไหวร่างกายน้อย
ความอ้วน หมายถึง การที่ปริมาณไขมันในร่างกายที่มากเกิน หรือมีค่าดัชนีมวลกาย
สาเหตุที่ท าให้เกิดโรคอ้วนโรคอ้วนเกิดจากหลายสาเหตุเกี่ยวพันกันในทางด้านร่างกายและ
จิตใจที่ไม่ปกติ ระดับฮอร์โมนบกพร่อง ระดับดุลยภาพร่างกายเปลี่ยนแปลง ปัจจัย
สิ่งแวดล้อม เช่น พฤติกรรมการบริโภค ขาดการออกก าลังกาย
สาเหตุส าคัญที่ท าให้เกิดความอ้วน คือ
1. ขาดการออกก าลังกาย
2. การบริโภคอาหารที่มากเกิน
กิจกรรมการออกก าลังกายจะช่วยควบคุมน ้าหนักตัว และขจัดไขมันที่เป็นส่วนเกิน
ออกไป การบริโภคอาหารที่มีแคลอรี่สูงเป็นประจ า ควรใช้โปนแกรมการออกก าลังกาย
อย่างหนักที่จะช่วยให้การแคลอรี่ในร่างกายมีความสมดุลมากขึ้น สามารถควบคุมน ้าหนัก
ตัวอยู่ในเกณฑ์ปกติ หรือีน ้าหนักตัวเพิ่มจากเดิมเล็กน้อย