Page 55 - คู่มือหลักสูตรมาตรฐานอาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและดิจิทัลคอนเทนต สาขาการบริหารโครงการสารสนเทศ (Project Management)
P. 55

โครงการพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์

                        มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์
                                                         สาขาการบริหารโครงการสารสนเทศ (Project Management)



                              3  การฝึกอบรมและพัฒนา (Training and Developing) การฝึกอบรม และการพัฒนา

                       หมายถึงการด าเนินการใด ๆ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ และทักษะที่จ าเป็นต่อการปฏิบัติงานซึ่งรวมถึงงานที่
                       รับผิดชอบอยู่ในปัจจุบัน และงานอื่นที่อาจได้รับมอบหมายในอนาคต การฝึกอบรม และการพัฒนา

                       นอกจากเพิ่มพูนความรู้ และทักษะแล้ว ยังช่วยสร้างความมั่นใจในการปฏิบัติงาน และท าให้พนักงาน
                       พึงพอใจที่มีความรู้ และทักษะต่าง ๆ เพิ่มเติม

                              4  การจ่ายค่าตอบแทน (Compensation) การจ่ายค่าตอบแทนเป็นขั้นตอนที่ส าคัญที่สุด

                       ประการบริหารทรัพยากรมนุษย์ เนื่องจากการจ่ายค่าตอบแทนที่เหมาะสมนอกจากเป็นส่วนส าคัญ
                       ที่ท าให้บุคคลในองค์กรเกิดความพึงพอใจ และท าให้ภาระค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรอยู่ในระดับที่

                       เหมาะสมแล้ว ยังสามารถดึงดูดให้ผู้ที่มีความรู้ความสามารถสนใจเข้าท างานในองค์กรอีกด้วย

                              5  การประเมินผลการปฏิบัติงาน (Performance Appraisal) การประเมินผลการ
                       ปฏิบัติงาน หมายถึงการวัด และการประเมินผลการปฏิบัติงานในรอบระยะเวลาหนึ่ง ๆ แล้ว

                       เปรียบเทียบกับเป้าหมาย หรือ มาตรฐานที่ก าหนดไว้ล่วงหน้า ผู้บริหารควรแจ้งให้พนักงานทราบ

                       เป้าหมาย และวิธีการประเมินล่วงหน้า โดยเป็นเป้าหมาย หรือ วิธีการประเมินที่ผู้บริหารก าหนดเอง
                       หรือ พิจารณาร่วมกันได้ ผลการประเมินสามารถน าไปใช้ประโยชน์ในการบริหารทรัพยากรบุคคลได้

                       หลายประการ ได้แก่ ช่วยให้ผู้บริหารเล็งเห็นโอกาสฝึกอบรมพนักงานในด้านต่าง ๆ ตามความจ าเป็น
                       หรือ ช่วยให้พนักงานทราบว่าตนจ าเป็นต้องได้รับความรู้เพิ่มเติม หรือ ด้านต่าง ๆ ตามความจ าเป็น

                              6  การรักษาความสัมพันธ์ (Relationship Maintenance) ในปัจจุบันการรักษา

                       ความสัมพันธ์กับพนักงานมีบทบาท และความส าคัญเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ ผู้บริหารที่สามารถรักษา
                       ความสัมพันธ์อันดีกับพนักงานไว้ได้จะบริหารงานได้อย่างราบรื่น ได้รับความร่วมมือจากพนักงาน และ

                       พนักงานมีทัศนคติที่ดีต่อองค์กร มีขวัญ และก าลังใจในการปฏิบัติงาน การรักษาความสัมพันธ์ระหว่าง
                       องค์กร และพนักงานให้ดีได้นั้น ผู้บริหารจ าเป็นต้องค านึงถึงประเด็นต่าง ๆ ซึ่งนิยมให้เป็นหลักในการ

                       รักษาความสัมพันธ์ ได้แก่ การจ่ายค่าตอบแทนที่เป็นธรรม (Compensation) การติดต่อสื่อสาร

                       (Communication) ที่มีประสิทธิภาพและสม่ าเสมอกับพนักงาน การสร้างความท้าทายให้เกิดขึ้นใน
                       งานที่พนักงานท าอยู่ และการดูแลเอาใจใส่



                       หน้าที่ทางการจัดการ (it.nation.ac.th, ม.ป.ป., [ออนไลน์])
                              โดยที่เราสามารถกล่าวได้ว่า หน้าที่ทางการจัดการ คือ หน้าที่ที่ผู้จัดการทุกคนต้องปฏิบัติ ซึ่ง

                       หน้าที่เหล่านี้ได้ถูกศึกษา รวบรวม และกล่าวถึงครั้งแรกในหนังสือชื่อ Industrial and General

                       Administration (ปี ค.ศ. 1916) แต่งโดย เฮนรี่ เฟโยล (Henry Fayol) วิศวกร และนักบริหาร
                       อุตสาหกรรมชาวฝรั่งเศส โดยเฟโยลได้กล่าวถึงหน้าที่ทางการจัดการไว้ 5 หน้าที่ด้วยกัน คือ

                                 ➢  การวางแผน (Planning)




                       รายงานโครงการพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์     หน้า 53
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60