Page 59 - คู่มือหลักสูตรมาตรฐานอาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและดิจิทัลคอนเทนต สาขาการบริหารโครงการสารสนเทศ (Project Management)
P. 59

โครงการพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์

                        มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์
                                                         สาขาการบริหารโครงการสารสนเทศ (Project Management)



                       ความสามารถที่จะน าความรู้ และความเข้าใจนั้นมาประกอบวิเคราะห์เหตุการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นได้

                       เพื่อให้สามารถท าการพยากรณ์สถานการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้อย่างใกล้เคียงกับความเป็นจริง
                       ที่สุด ซึ่งจะท าให้การด าเนินงานด้านทรัพยากรมนุษย์เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

                                     3.  วิธีปฏิบัติ เมื่อมีการคาดการณ์ถึงสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตแล้ว นัก
                       บริหารทรัพยากรมนุษย์จะต้องก าหนดวิธีการปฏิบัติเพื่อเป็นแนวทางให้แต่ละกิจกรรมด้านทรัพยากร

                       มนุษย์ ตั้งแต่การสรรหา การคัดเลือก การฝึกอบรม การธ ารงรักษา จนถึงการเกษียณอายุของบุคลากร

                       เพื่อให้สามารถด าเนินการสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ขององค์การ และกระแสการเปลี่ยนแปลงของ
                       สังคมได้อย่างเหมาะสม

                                     4.  องค์การและบุคลากร นักบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่มีความสามารถจะต้องสร้าง

                       และรักษาสมดุลของทรัพยากรมนุษย์ภายในองค์การให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมอยู่ตลอดเวลา การ
                       วางแผนทรัพยากรมนุษย์จะเป็นเครื่องมือ และแนวทางส าคัญในการสร้างหลักประกัน ว่าองค์การจะมี

                       บุคลากรที่มีคุณภาพตามที่ต้องการร่วมงานในปริมาณที่เหมาะสม โดยไม่เกิดสภาวะบุคลากรล้นงาน

                       หรือ ขาดแคลนแรงงานขึ้น
                                     จากองค์ประกอบที่กล่าวมาแล้วข้างต้น เราสามารถสรุปได้ว่า “การวางแผนทรัพยากร

                       มนุษย์ คือ กระบวนการต่อเนื่องที่ใช้ในการคาดการณ์ และก าหนดวิธีการปฏิบัติในกิจกรรมด้านบุคลากร
                       เพื่อรักษาสมดุลของบุคลากรในองค์การให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมทั้งในระยะสั้น และระยะยาว” ซึ่งจะ

                       สามารถแสดงแบบจ าลองการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ดังภาพ
















                       ที่มา: it.nation.ac.th, ม.ป.ป., [ออนไลน์].


                                     นอกจากนี้ ในทางปฏิบัติ การวางแผนทรัพยากรมนุษย์อาจจะมีชื่อเรียกที่แตกต่าง

                       กันตามขอบเขต ความหมาย ลักษณะของงาน และผู้ใช้จะน ามากล่าวอ้าง เช่น การวางแผนก าลังคน
                       (Man Power Planning) การวางแผนการจ้างงาน (Employment Planning) การวางแผนบุคลากร

                       (Personal Planning) เป็นต้น ซึ่งในที่นี้จะใช้ค าว่า “การวางแผนทรัพยากรมนุษย์” เป็นหลัก โดย

                       อาจจะใช้ค าอื่นทดแทนในบางครั้งตามความเหมาะสม เนื่องจากการวางแผนทรัพยากรมนุษย์เป็น





                       รายงานโครงการพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์     หน้า 57
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64