Page 67 - เศรษฐกิจต้นnew.indd
P. 67

60



                              ดานการเงิน

                              ผูนําธุรกิจวางแผนการลงทุนในธุรกิจที่สุจริต  ไมกอใหเกิดผลเสียตอสังคม วิเคราะหถึง


                       ความคุมคาในการลงทุนอยางรอบคอบดวยเหตุผล และลงทุนในธุรกิจที่หลากหลาย เพื่อลด

                       ความเสี่ยงดานการเงิน หลีกเลี่ยงการลงทุนบนพื้นฐานของเงินกูที่ เกินขีดความสามารถในการ

                       ชําระหนี้ รักษาอัตราสวนหนี้สินตอทุนใหเหมาะสม และกําหนดนโยบายการลงทุน โดยไมหวัง


                       ผลกําไรในระยะสั้นควรเนนความมั่นคงในระยะยาว ทํากําไรแต พอประมาณ โดยไมมากเกินไป

                       จนธุรกิจตองประสบภาวะเสี่ยงหรือขาดภูมิคุมกันในธุรกิจ และทํากําไรไมนอยเกินไป จนธุรกิจไม


                       สามารถอยู รอดได จัดระบบการสะสมเงินออมและเงินทุนหมุนเวียนอยางเหมาะสม

                              ผูนําธุรกิจควรสนับสนุนการกระจายอํานาจและการตัดสินใจไปยังสวนงานตาง ๆ

                       ในองคกรโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใหกวางขวางและครอบคลุมทุกสวนงาน


                       มุงเนนการใชงบประมาณอยางสรางสรรค โดยกําหนดกรอบแนวทางในการตัดสินใจอนุมัติและ

                       ดําเนินงานโครงการตางๆ ขององคกรใหเปนไปตามหลักธรรมาภิบาลที่ดี มีระบบกลไกการ

                       ตรวจสอบและติดตามผลการใชงบประมาณ การจัดซื้อจัดจาง และการดําเนินงานตางๆ อยาง


                       โปรงใส

                              ดานทรัพยากรบุคคล


                              ผูนําธุรกิจเห็นคุณคาและใหความสําคัญกับการพัฒนาพนักงานอยางตอเนื่อง โดยนํา

                       หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการบริหารทรัพยากรบุคคลดานตาง ๆ ไดแก


                       การคัดเลือกพนักงานดวยหลักยุติธรรม โดยเนนคนดีที่ซื่อสัตยและคนเกงที่มีคุณภาพ เนนการ

                       ทํางานเปนทีม ฝกอบรมการใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใหแกพนักงานทุกระดับใน

                       องคกร สงเสริมการศึกษาและวิจัย เพื่อพัฒนาองคความรูและนวัตกรรม ในดานผูนําธุรกิจกับ


                       การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงในองคกรตาง ๆ ใหเกิดประโยชนสูงสุดแกผูบริโภคและองคกร

                       วางแผนการเตรียมความพรอมของพนักงานในอนาคต กําหนดตัวชี้วัดการประเมินผลงานดวย

                       ความโปรงใสและเปนธรรม เปลี่ยนแปลงระบบการเลื่อนตําแหนงจากหลักความอาวุโสหรือหลัก


                       อุปถัมภ เปนยึดหลักความสามารถของบุคคล กําหนดระดับคาจางพอประมาณแกฐานะของ






                                                                     เศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น  :  ทช21001  67
                                                                                          ส�ำนักงำน กศน.จังหวัดกำฬสินธุ์
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72