Page 17 - BookHISTORYFULL.indb
P. 17

ตอนที่ ๑



                              การเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์กับการศึกษาขั้นพื้นฐาน



                     ควำมเป็นมำของกำรพัฒนำกำรเรียนรู้ประวัติศำสตร์
                                                                     ื
                            ปี ๒๕๕๒ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นพ้นฐานได้พิจารณาทบทวน
                                                                  ั
                                       �
                                                       ั
                     การบริหารจัดการ การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ท้งทางด้านหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน
                     ประวัติศาสตร์ในสถานศึกษา เพื่อส�ารวจสภาพปัญหาและหาแนวทางการพัฒนา ทางด้าน
                     หลักสตรน้น หลักสูตรท่ใช้อยู่ในปัจจุบัน คือ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพ้นฐาน
                             ั
                          ู
                                                                                    ื
                                        ี
                                                                                  ้
                     พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้จัดให้สาระประวัติศาสตร์ เป็นหน่งในกลุ่มสาระการเรียนรู้
                                                                     ึ
                                                                                �
                                                        ื
                                                 ี
                     สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ท่ว่าด้วยเร่องการอยู่ร่วมกันในสังคม โดยกาหนดสาระ
                                                                                  ี
                     และมาตรฐานการเรียนรู้ใน ๕ สาระ คือ (๑) ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม (๒) หน้าท่พลเมือง
                     วัฒนธรรมและการด�าเนินชีวิต (๓) เศรษฐศาสตร์ (๔) ประวัติศาสตร์ (๕) ภูมิศาสตร์
                            การบูรณาการเนื้อหาสาระดังกล่าวไว้ในกลุ่มสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
                                     ี
                      ี
                     น้ เป็นประเด็นหน่งท่ก่อให้เกิดการวิพากษ์วิจารณ์ ในกลุ่มนักวิชาการโดยเฉพาะในระดับ
                                   ึ
                     มหาวิทยาลัย ท่เห็นว่า มาตรฐานของวิชาประวัติศาสตร์ในระดับประถมศึกษาและ
                                  ี
                               �
                               ่
                     มัธยมศึกษาตากว่าความคาดหมาย และส่งผลกระทบไปถึงการศึกษาต่ออย่างมีประสิทธิภาพ
                     ในระดับมหาวิทยาลัย   นักวิชาการดังกล่าวนี้มีความเห็นร่วมกันว่า มีปัจจัยหลายประการ
                                                                            ี
                      ี
                     ท่มีอิทธิพลต่อความอ่อนด้อยของวิชาประวัติศาสตร์ในระดับโรงเรียน ท่ให้เวลาเรียนวิชา
                                                                              ื
                     ประวัติศาสตร์และวิชาอ่นในกลุ่มวิชาทางด้านสังคมศึกษาน้อยเกินไป ท้งท่มีเน้อหาและทักษะ
                                                                           ี
                                      ื
                                                                         ั
                     กระบวนการที่ต้องฝึกฝนจ�านวนมาก และคุณภาพของบุคลากรผู้สอนประวัติศาสตร์ที่เน้น
                                ื
                     ไปทางด้านเน้อหาสาระมากเกินไปจนละเลยเร่องทักษะกระบวนการและเจตคติค่านิยม
                                                         ื
                                                                                            15
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22