Page 18 - BookHISTORYFULL.indb
P. 18

อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากเวลาเรียนจ�ากัด อีกประการหนึ่ง  ในขณะที่มีการปฏิรูปการเรียน

                                                                           ั
          การสอนระดับโรงเรียน แต่วิชาประวัติศาสตร์ยังไม่ได้รับการเอาใจใส่อย่างแท้จริง ทงท ่ ี
                                                                           ้
                                                  ิ
                                                                       ั
                                                         ี
                                            ี
                       ู
                     ั
                                   ี
                           ั
                                                                        ิ
          กระแสความรบร้ของสงคมได้เรยกร้องให้มการปฏรูปการเรยนการสอนประวตศาสตร์
          เพราะต่างเป็นห่วงกันว่าคนไทยและเยาวชนไทยมีความรู้ประวัติชาติของตัวเองน้อยมาก
          ท้งน้อาจเป็นด้วยความเข้าใจปรัชญาและประโยชน์ในทางปฏิบัติของวิชาประวัติศาสตร์
             ี
           ั
          ต่อพัฒนาการด้านภูมิปัญญาของเยาวชนของชาติไม่ชัดเจน (กรมวิชาการ , ๒๕๔๓ : ๕)
                 รำยงำนกำรศึกษำเร่อง “สภำพและปัญหำกำรจัดกำรเรียนกำรสอนสำระ
                                  ื
                                                                       �
          หน้ำท่พลเมืองประวัติศำสตร์ ศีลธรรม ศำสนำ เรียงควำมและย่อควำม”  ของสานักงาน
              ี
          เลขาธิการสภาการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ (๒๕๕๑ : ก-ง) โดยกระบวนการวิเคราะห์
                          ี
                        ี
          หลักสูตร เอกสารท่เก่ยวข้อง การสอบถามครูต้นแบบ และการจัดสนทนากลุ่มกับครูผู้สอน
          ศึกษานิเทศก์ และผู้บริหารสถานศึกษา เมื่อวันที่ ๒๐ - ๒๑ ธันวาคม ๒๕๕๐ ได้สรุปผล
          การศึกษาสภาพและปัญหาที่เกี่ยวข้องกับสาระสังคมศึกษาไว้ ๗ ข้อ ดังนี้
                 (๑) สภำพและปัญหำเกี่ยวกับครู
                      ๑.๑ ครูผู้สอนส่วนใหญ่ไม่ได้จบวิชาเอกเฉพาะทางด้านสังคมศึกษา ในระดับ
          ประถมศึกษามีครูที่ส�าเร็จการศึกษาในสาขานี้น้อยมาก
                      ๑.๒  ครูส่วนหนึ่งต้องสอนหลายกลุ่มสาระการเรียนรู้และสอนหลายระดับ
          ชั้น ท�าให้ไม่มีความถนัด ยังขาดความลุ่มลึกในเนื้อหาวิชา และความช�านาญในการสอน

                                              ี
                                            ื
                                                                      �
                                                  ี
                      ๑.๓  ครูผู้สอนมีภาระงานอ่นท่ไม่เก่ยวข้องกับภาระงานสอนจานวนมาก
          ทั้งงานภายในและภายนอกสถานศึกษา เช่น งานธุรการ การเงิน พัสดุ อนามัย การท�างาน
                                       ี
          ร่วมกับชุมชนและหน่วยงานต่างๆ ท่เข้ามาประสานขอความร่วมมือจากสถานศึกษา
          ทั้งด้านสาธารณสุข งานปกครอง งานจัดท�าข้อมูล สารสนเทศ ให้แก่หน่วยงานต่างๆ ท�าให้
          ครูไม่สามารถให้เวลาและทุ่มเทในการสอนได้อย่างเพียงพอ ไม่มีเวลาเตรียมการสอน
          การศึกษาค้นคว้าหาความรู้และการตรวจแบบฝึกหัดอย่างละเอียดท่วถึง รวมท้งการให้ข้อมูล
                                                           ั
                                                                   ั
          ย้อนกลับเพื่อปรับปรุงพัฒนาทักษะและผลงานของนักเรียน
                      ๑.๔  ครูผู้สอนขาดความรู้ความเข้าใจในหลักสูตร สาระการเรียนรู้อย่าง

                                                          ื
          ลึกซ้ง ศักยภาพยังไม่เพียงพอต่อการพัฒนาหลักสูตร การเช่อมโยงจากหลักสูตรไปสู่
             ึ
                                                  �
                                 �
          การจัดการเรียนการสอนยังทาไม่ได้ดี ครูไม่ได้จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยตนเอง
                                                            �
                                                              ็
                                                                ู
                                                                        ั
                                                                           ิ
              ั
          แต่ปรบจากแผนการจดการเรยนร้หรอใช้แผนการจดการเรยนร้สาเรจรปของสานกพมพ์
                                                                      �
                                                 ั
                                    ู
                                      ื
                          ั
                                                           ู
                                ี
                                                       ี
          เอกชน โดยขาดการวิเคราะห์ถึงความเหมาะสมกับบริบทที่เป็นจริงของสถานศึกษาตนเอง
                                                                       ื
                                                          ั
                      ๑.๕  ครูผู้สอนไม่ได้รับการฝึกอบรมและพัฒนาท้งในด้านความรู้เน้อหาวิชา
                                                                           ื
                                                       �
          และ ทักษะในการจัดการเรียนรู้ การจัดฝึกอบรมเน้นจัดให้สาหรับครูผู้สอนกลุ่มสาระอ่นๆ
    16
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23