Page 20 - BookHISTORYFULL.indb
P. 20
(๕) สภำพและปัญหำเกี่ยวกับสื่อกำรเรียนกำรสอน
ื
๕.๑ ส่อการเรียนการสอนกลุ่มสาระสังคมศึกษาไม่เพียงพอ และไม่เร้า
ื
ความสนใจผู้เรียน สถานศึกษาให้ความสาคัญน้อยและไม่ค่อยจัดสรรงบประมาณเพ่อ
�
จัดหาสื่อในกลุ่มสาระนี้
ื
๕.๒ ในการเรียนการสอน ครูผู้สอนใช้หนังสือเรียนเป็นส่อการเรียน
ื
การสอนมากไป ขาดการใช้ส่อท่ทันสมัย ส่อสร้างสรรค์ และส่อท่มีคุณภาพมาใช้
ื
ี
ี
ื
ในการจัดการเรียนการสอน
๕.๓ ครูขาดทักษะในการผลิตสื่อการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับผู้เรียน
(๖) สภำพและปัญหำเกี่ยวกับกำรนิเทศกำรเรียนกำรสอน
๖.๑ ยังขาดศึกษานิเทศก์ท่มีความเช่ยวชาญเฉพาะกลุ่มสาระสังคมศึกษา
ี
ี
โดยตรง โดยเฉพาะทางด้านประวัติศาสตร์ ศาสนาและวัฒนธรรม
ึ
๖.๒ ศึกษานิเทศก์ส่วนหน่ง เป็นศึกษานิเทศก์ในระดับประถมศึกษามาก่อน
ื
ี
ื
ี
เม่อปฏิบัติงานในเขตพ้นท่การศึกษาท่ต้องให้นิเทศโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาด้วย จึงไม่
สามารถให้การนิเทศการเรียนการสอนกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ได้
อย่างมีประสิทธิภาพมากนัก
ี
ื
๖.๓ ศึกษานิเทศก์มีภาระงานอ่นมาก โดยเฉพาะงานท่ไม่เก่ยวกับงานนิเทศ
ี
การเรียนการสอน เช่น งานธุรการ งานการเงิน งานบริการต่างๆ จึงไม่สามารถปฏิบัต ิ
งานนิเทศได้ตามภารกิจหลัก
ี
นอกจากน้ระบบการนิเทศงานวิชาการภายในสถานศึกษายังไม่เข็มแข็ง
ไม่สามารถให้การนิเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๗) สภำพและปัญหำเกี่ยวกับปัจจัยแวดล้อมอื่นๆ
ี
ื
๗.๑ เน้อหาท่ใช้สอบ O-Net ไม่สอดคล้องกับการสอนตามหลักสูตร
เป็นเหตุทาให้ครูผู้สอนต้องตัดสาระบางเร่องออกไป เพ่อสอนให้ทันกับเวลาท่นักเรียน
ื
ื
�
ี
ต้องสอบ
�
ี
๗.๒ ปัญหาเชิงนโยบาย ได้แก่ การกาหนดนโยบายให้นักเรียนท่ไม่ผ่าน
เกณฑ์ไม่ต้องเรียนซ�้าชั้น ส่งผลต่อคุณภาพการเรียนการสอนและนโยบายที่ยกเลิกระเบียบ
การลงโทษนักเรียน ท�าให้ครูจ�านวนหนึ่งขาดความสามารถในการปกครองชั้นเรียน
ื
ี
๗.๓ นโยบายทางการศึกษามีการเปล่ยนแปลง ขาดความต่อเน่อง
ในการดาเนินการตามนโยบาย ข้นอยู่กับการเปล่ยนแปลงผู้บริหารระดับสูง ซ่งมีผลกระทบ
ึ
ี
ึ
�
ต่อการเปลี่ยนแปลงนโยบายและการด�าเนินงาน
18