Page 24 - BookHISTORYFULL.indb
P. 24

�
                 ในด้ำนจริยธรรมและวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์จะเป็นการนาตัวอย่างเหตุการณ์
           ี
          ท่เป็นบทเรียนท่เกิดข้นแล้วในอดีตมาใช่ในการพิจารณา วิพากษ์วิจารณ์ในเชิงจริยธรรม
                          ึ
                      ี
                    ่
                                              ี
                                                      ั
                                                ี
           ั
                          ุ
                    ื
          อนจะเป็นเครองกระต้นให้เยาวชนเกิดทัศนคติท่ดต่อการพฒนาตนเองและอนรักษ์มรดก
                                                                     ุ
          ทางวัฒนธรรม
                                              ึ
                 ประกอบกับนโยบำยของกระทรวงศกษำธกำร ในการพัฒนาเยาวชนของชาต     ิ
                                                  ิ
         เข้าสู่โลกยุคศตวรรษที่ ๒๑ โดยมุ่งส่งเสริมผู้เรียนมีคุณภาพ รักความเป็นไทย ให้มีทักษะ
                                                                   ื
                                                       �
         การคิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์ มีทักษะด้านเทคโนโลยี สามารถทางานร่วมกับผู้อ่นและสามารถ
         อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมโลกได้อย่างสันติ (กระทรวงศึกษาธิการ ๒๕๕๑ : ๒)
                 ด้วยเหตุดังกล่าว สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นพ้นฐาน ได้ให้ความสาคัญ
                                                                          �
                               �
                                                            ื
                                                         ั
                                                  �
         กับการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ โดยกาหนดเป็นนโยบายในแผนปฏิบัติการ
         ประจ�าปีงบประมาณ ๒๕๕๒   ในกลยุทธิ์ที่ ๑  “ปลูกฝังคุณธรรมความส�านึกในความเป็น
         ชาติไทย” และมอบหมายให้ส�านักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา จัดท�าแผนยุทธศาสตร์
                                                 �
           ื
         เพ่อพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ ประจาปี ๒๕๕๒ โดยให้รีบเร่งดาเนินการ
                                                                      �
                       ี
                     ั
         อย่างเร่งด่วน ท้งน้ คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษา
             ื
                                                                      ั
                             ี
                                           �
         ข้นพ้นฐาน ได้กล่าวในท่ประชุมผู้บริหารสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นพ้นฐาน
           ั
                                                                         ื
         เมื่อวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๑ ว่า
                                                                        ื
                 “ในเร่องของการปรับการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ให้โดดเด่น เพ่อสนอง
                     ื
                                          ิ
         พระราชเสาวนีย์ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ พระบรมราชินีนาถ จะรวมอยู่ในกลยุทธ์หลัก
                                                 �
                  ึ
         ข้อท่ ๑ ซ่งได้มอบหมายให้ฝ่ายท่เก่ยวข้องไปสารวจว่า ความรู้ความเข้าใจในด้าน
             ี
                                       ี
                                     ี
         ประวัติศาสตร์ของนักเรียนในแต่ละช่วงช้นมีมากน้อยเพียงใด ท้งน้ได้มีการกาหนด
                                                              ั
                                                                ี
                                           ั
                                                                         �
         ยุทธศาสตร์และต้องดูว่าการเรียนการสอนควรเป็นเช่นไร ซ่งคิดว่าจะต้องมีการพัฒนา
                                                         ึ
         สื่อเสริมและส่งเสริมกิจกรรม รวมทั้งจะต้องมีการอบรมครูสอนวิชาประวัติศาสตร์ในช่วง
         เดือนตุลาคมนี้ด้วย”   (หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน : ๒๙ สิงหาคม ๒๕๕๑ : หน้า ๒๐)
         โดยมอบหมายให้ นางอ่องจิต เมธยะประภาส  ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผน (ต�าแหน่ง
         ในขณะน้น) เป็นผู้กากับติดตามการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ ให้เป็นไป
                 ั
                         �
                                                                  �
         ตามนโยบายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นพ้นฐาน มีการกาหนดบทบาท
                        �
                                                       ื
                                                    ั
         การท�างานขับเคลื่อนคุณภาพการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ดังนี้
                 บทบำทของส�ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน
                 ๑. จัดทาหลักสูตรอบรมและดาเนินการการพัฒนาครูให้มีความเข้มแข็งในการ
                       �
                                        �
         จัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์อย่างมีประสิทธิภาพ
                 ๒. ส่งเสริมให้มีการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ในพื้นที่
    22
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29