Page 26 - BookHISTORYFULL.indb
P. 26

ี
                                            ึ
          การศึกษาแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศท้งน้ข้นอยู่กับปรัชญาการศึกษา บริบทของประเทศ
                                         ั
          อันประกอบด้วยพื้นฐานทางสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจและนโยบายของรัฐบาล รวมทั้ง
          ตัวแปรอื่นๆ ที่แตกต่างกัน
                      ถ้าจะศึกษาย้อนหลังถึงการพัฒนาหลักสูตรในประเทศไทย โดยเฉพาะ
          หลักสูตรวิชาสังคมศึกษาแล้ว  จะพบว่าในแต่ละช่วง แต่ละสมัยได้มีการเคล่อนไหวเก่ยวกับ
                                                                  ื
                                                                         ี
                                                                      ี
          การปรับปรุงวิชาสังคมศึกษาอยู่ตลอดเวลา การเคล่อนไหวท่จะปรับปรุงเปล่ยนแปลง
                                                          ี
                                                   ื
                                                 ี
                                               ี
                 ื
                                        ี
          ในแต่ละเร่องน้น กล่าวได้ว่า การปรับเปล่ยนเรื่องท่เก่ยวข้องกับสังคมดังกล่าวเป็นเร่องปกต ิ
                     ั
                                                                        ื
          วิสัย เพราะสังคมจะมีการปรับเปลี่ยนไปตลอดเวลาไม่หยุดอยู่กับที่ แตจะหมุนเวียนเปลี่ยน
                                                              ่
                                                                       ิ
                                                                       ่
                                                    ุ
                                                                 ึ
                                                             ั
          ไปตามสภาพสภาพเศรษฐกิจและสังคมในแต่ละยคแต่ละสมย  ซงเป็นสงจาเป็น
                                                                 ่
                                                                         �
          ที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ (กรมวิชาการ, มปพ.: ๙)
                         ั
                                   �
                                              �
                      ดังน้น หลักการสาคัญของการดาเนินงานพัฒนาหลักสูตรและการบริหาร
          จัดการหลักสูตรในสถานศึกษา ในครั้งนี้ คือ การแยกการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ให้
          เป็นวิชาเฉพาะ สัปดาห์ละ ๑ ชั่วโมง ตามนโยบายของส�านักงานคณะกรรมการการศึกษา
          ขั้นพื้นฐาน
                                                         ี
                                                        ี
                 ๒. กำรพัฒนำได้รับควำมเห็นชอบจำกหน่วยงำนท่เก่ยวข้องและคณะกรรมกำร
                                                                      ั
                                                                         ื
          พัฒนำกำรเรียนรู้ประวัติศำสตร์ไทย ของส�ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้นพ้นฐำน
                                                 �
                           ื
                       ั
                                                                          �
                      ท้งนี้เพ่อความถูกต้องตามหลักการดาเนินงาน และเหมาะสม หลักการสาคัญ
                                                                 ี
          คือ การพัฒนาดังกล่าวควรได้รับความเห็นชอบจากหน่วยงานและบุคคลท่มีความเช่ยวชาญ
                                                                        ี
          และรับผิดชอบโดยเฉพาะดังนี้
                      ๑. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งรับผิดชอบหลักสูตรการศึกษา
          ขั้นพื้นฐาน
                      ๒. หน่วยงานที่มีความรับผิดชอบโดยตรงกับการพัฒนากระบวนการเรียน
          การสอนประวัติศาสตร์ เช่น กลุ่มพัฒนาหลักสูตร กลุ่มพัฒนาส่อการเรียนรู้ ในสานักวิชาการ
                                                                     �
                                                        ื
                                                        �
                             �
          และมาตรฐานการศึกษา สานักเทคโนโลยีทางการศึกษา และ สานักนวัตกรรมทางการศึกษา
                      ๓. ผู้เช่ยวชาญหรือผู้ทรงคุณวุฒิทางประวัติศาสตร์ไทย เช่น คณะกรรมการ
                           ี
           �
          ชาระประวัติศาสตร์ไทย ราชบัณฑิตยสถาน สมาคมประวัติศาสตร์ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จ
          พระเทพรัตนราชสุดาฯ รวมทั้งอาจารย์ผู้สอนประวัติศาสตร์ในสถาบันอุดมศึกษา
                      ๔. ศึกษานิเทศก์ – ครู – อาจารย์ ซึ่งเป็นผู้สอน หรือผู้ที่จะน�าไปพัฒนา
                                                                      ึ
                            ื
                         ู
          กระบวนการเรียนร้ หรอ การจดกจกรรมการเรยนการสอนในระดบประถมศกษา และ
                                  ั
                                                              ั
                                               ี
                                     ิ
          มัธยมศึกษา
    24
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31