Page 29 - BookHISTORYFULL.indb
P. 29

�
                                                                    ึ
                                                                                    ู
                                                                            ี
                            สาหรับนักเรียนในระดับมัธยมศึกษำตอนต้น ซ่งเป็นวัยท่อยากรับร้ข้อมูล
                                                                                 ื
                     ข่าวสารเบ้องต้นเพ่มมากข้น กระบวนการเรียนรู้จึงควรจะได้นาสู่ข้อมูลพ้นฐานทาง
                                                                        �
                                          ึ
                             ื
                                    ิ
                                                                              ึ
                                                                                       ี
                     ประวัติศาสตร์ โดยวิธีการทางประวัติศาสตร์และเปิดโลกการเรียนรู้ให้กว้างข้นจากการท่ได้
                      �
                     ทาความเข้าใจวิถีชีวิต วัฒนธรรมของสังคมของตนเองและขยายไปสู่ความเข้าใจในสังคม
                                                                 �
                                             ั
                     นานาชาติและสังคมโลก รวมท้งประเด็นหรือเหตุการณ์สาคัญในประวัติศาสตร์ร่วมสมัย
                     ซึ่งเป็นเรื่องท้าทายในอันที่จะน�าความเข้าใจวิกฤตการณ์ของชาติในปัจจุบัน
                            ส่วนระดับมัธยมศึกษำตอนปลำย นักเรียนควรได้เรียนประวัติศาสตร์ไทย
                         ึ
                                                                                     ื
                       ิ
                     เพ่มข้น โดยได้เข้าถึงเอกสารช้นต้น ได้เรียนรู้ด้วยการวิพากษ์วิจารณ์ความน่าเช่อถือ
                                             ั
                     ของหลักฐานต่างๆ ทางประวัติศาสตร์ รวมทั้งได้ถกเถียงและได้รับสาระเนื้อหารายละเอียด
                     ข้อมูลทางประวัติศาสตร์มากยิ่งขึ้น
                     กำรด�ำเนินกำรด้ำนกำรพัฒนำกำรเรียนรู้ประวัติศำสตร์ของส�ำนักงำนคณะ
                     กรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน
                             �
                                                            ื
                                                                     �
                               ั
                                                          ั
                            สานกงานคณะกรรมการการศึกษาข้นพ้นฐานได้ดาเนินการด้านการพัฒนา
                     การเรียนรู้ประวัติศาสต์หลายประการ ได้แก่ (๑) การปรับรายละเอียดในหลักสูตรแกนกลาง
                                                                                  ั
                                                                               ่
                                ื
                     การศกษาขนพนฐาน พทธศกราช ๒๕๕๑ (๒) การประกาศแนวปฏบตเกยวกบการใช้
                                           ั
                                       ุ
                                ้
                         ึ
                                                                             ิ
                                                                               ี
                              ้
                                                                            ั
                                                                           ิ
                              ั
                     หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
                                                                 �
                                                               �
                     และวัฒนธรรม (สาระท่ ๔ ประวัติศาสตร์) (๓) จัดทาคาอธิบายรายวิชาประวัติศาสตร์
                                        ี
                       ื
                                                              ื
                                                                       �
                     เพ่อเป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์เพ่อสร้างจิตสานึกความเป็นไทยและ
                     (๔) การจัดกิจกรรมการพัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ รายละเอียดในข้อ (๑) และ (๒)
                      �
                     นาเสนอในบทท่ ๒ หลักสูตรการศึกษาของไทยกับการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
                                  ี
                     ในส่วนนี้จะน�าเสนอเฉพาะข้อ (๓) และ (๔) เป็นดังนี้
                            กำรจัดท�ำค�ำอธิบำยรำยวิชำประวัติศำสตร์เพ่อเป็นแนวทำงกำรจัดกำรเรียนร ู้
                                                               ื
                     ประวัติศำสตร์ เพ่อสร้ำงจิตส�ำนึกควำมเป็นไทย
                                   ื
                            เพ่อให้การจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์มีประสิทธิภาพ สานักงาน
                              ื
                                                                                  �
                                            ื
                                          ั
                                                         �
                     คณะกรรมการการศึกษาข้นพ้นฐานจึงได้จัดทาคาอธิบายรายวิชาประวัติศาสตร์ในสาระ
                                                           �
                     แกนกลางในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้นทุกช้นปี ส่วนในระดับมัธยมศึกษา
                                                                   ั
                                                                                   ื
                                    ั
                     ตอนปลายเป็นช่วงช้น โดยแบ่งเป็นประวัติศาสตร์ไทยและประวัติศาสตร์สากล   เพ่อให้เป็น
                     ตัวอย่างแนวคิด ให้สถานศึกษาและผู้สอนน�าไปปรับให้เหมาะกับสภาพภูมิสังคมของแต่ละ
                     แห่ง เพื่อจะได้น�าไปสู่ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ให้สามารถพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านความรู้
                     ความเข้าใจ (knowledge) ทักษะกระบวนการคิด/ทักษะกระบวนการท�างาน (process) และ
                                                                                            27
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34