Page 31 - BookHISTORYFULL.indb
P. 31
แนวคิดและข้อมูลใหม่ทางด้านประวัติศาสตร์ และให้เกิดเครือข่ายการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ี
ี
นอกจากน้ยังมีการประชุมแลกเปล่ยนเรียนรู้ระหว่างครูผู้สอนประวัติศาสตร์ เพ่อประมวลผล
ื
�
ี
�
ี
การทางานเป็นผลงานท่เป็นตัวอย่างได้ (best practices) ให้เกิดรูปธรรมท่นาไปขยายผลต่อ
ตลอดจนใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนเชิงนโยบาย
ตัวอย่างกิจกรรมที่ด�าเนินการ ได้แก่
(๑) อบรมเพ่อยกระดับผลสัมฤทธ์ด้านสังคมศึกษาให้แก่ศึกษานิเทศก์
ิ
ื
และคณะครูโรงเรียน โดยกลุ่มเป้าหมายเป็นการเลือกเชิงยุทธศาสตร์หลายลักษณะ ได้แก่
ี
ื
การเลือกโรงเรียนจากสานักงานเขตพ้นท่การศึกษาท่มีผลสัมฤทธ์เฉลี่ยกลุ่มสาระ
�
ิ
ี
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ท่ตากว่าค่าเฉล่ยของประเทศเล็กน้อย เพ่อเร่งให้
ี
ี
ื
�
่
ี
ค่าเฉล่ยโดยรวมของประเทศสูงมากข้น หรือการเลือกเฉพาะกลุ่ม ได้แก่ กลุ่มโรงเรียน
ึ
ประถมศึกษา(ขยายโอกาสทางการศึกษา) เน่องจากเป็นโรงเรียนท่มีครูผู้สอนมีครูผู้สอน
ี
ื
�
�
ี
ิ
ท่สาเร็จวิชาเอกด้านสังคมศึกษาจานวนไม่มากนัก และยังมีผลสัมฤทธ์เฉล่ยค่อนข้างตา
ี
�
่
ื
ั
ื
กว่าโรงเรียนแบบอ่น รวมท้งจัดสรรงบประมาณและส่อประกอบการจัดการอบรมให้ไป
ด�าเนินการอบรมขยายผลให้แก่ครูในเขตพื้นที่การศึกษา
(๒) การจัดประชุมพัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นการจัด
ี
เน้นเฉพาะสาระการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ โดยมีการจัดการประชุมอบรมตามจังหวัดท่ม ี
แหล่งเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ ได้แก่ พระนครศรีอยุธยา สุโขทัย ก�าแพงเพชร สุพรรณบุรี
ราชบุรี เชียงใหม่ นครราชสีมา นครราชสีมา กิจกรรมส�าคัญ ๓ เรื่อง คือ การใช้หลักฐาน
�
ั
ิ
และเอกสารช้นต้น การใช้แหล่งเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ในท้องถ่นเป็นส่อ และการทา
ื
ั
ความเข้าใจสาระประวัติศาสตร์ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นพ้นฐานพุทธศักราช
ื
๒๕๕๑ สาระท่ใช้ในการประชุมอบรมประกอบด้วย แนวคิดและหลักการสาคัญในสาระ
�
ี
ประวัติศาสตร์ ที่ยังคงมีความเข้าใจคลาดเคลื่อนหรือยังไม่ถูกต้องจ�านวนมาก ข้อมูลใหม่
ั
หรือผลการวิจัยด้านประวัติศาสตร์ รวมท้งมีการศึกษานอกสถานท่ในแหล่งเรียนรู้ทาง
ี
โบราณคดี ประวัติศาสตร์ และพิพิธภัณฑ์ที่อยู่ในจังหวัดที่เป็นจุดการอบรม
(๓) การร่วมมือกับหน่วยงานหรือองค์กรท่เก่ยวข้องในการพัฒนา
ี
ี
การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ให้แก่คณะครูและผู้ท่สนใจ ได้แก่ การประชุมร่วมกับโครงการวิจัย
ี
โดยมี ดร.วินัย พงษ์ศรีเพียร เมธีวิจัยอาวุโส ส�านักงานสนับสนุนกองทุนวิจัย (สกว.) เป็น
หัวหน้าโครงการ ในระยะแรกเป็นโครงการ “๑๐๐ เอกสารสาคัญ: สรรพสาระประวัติศาสตร์
�
ไทย” เน้นการศึกษาจารึก การประชุมสัมมนาวิชาการ ประกอบด้วยเนื้อหาโดยสังเขป คือ
การนาเสนอผลการศึกษาจารึกกับประวัติศาสตร์ไทย ภาษาและวรรณกรรมศึกษากับ
�
ิ
ั
ี
ประวัตศาสตร์ไทย เอกสารต่างประเทศเก่ยวกบประวัติศาสตร์ไทย และเอกสารประวัติศาสตร ์
29